Knowledge Management & Information Technology & Communication - ICT

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
Advertisements

โครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบบูรณาการ
Knowledge Management (KM)
จัดการความรู้/มุมมองแนวคิด CoP
Community of Practice ชุมชนนักปฏิบัติ.
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
ความคิดสร้างสรรค์ (Creavity) และ ความรู้ (Knowledge)
Research Problem ปัญหาการวิจัย
ส่วนที่ 2 การประเมินกับ การบริหารงานบุคคล รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
1. นางสาวฉันทนา คงแก้ว เลขที่ 9
หลักการพัฒนา หลักสูตร
ความสำคัญและการนำสู่การปฏิบัติ
( Organization Behaviors )
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
การคิดและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
บทเรียนบาง ประการ จาก ประสบการณ์ การส่งเสริมการ เรียนรู้ และจัดการ ความรู้
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การสื่อสารเพื่อการบริการ
Knowledge Management (KM)
LEARNING ORGANIZATION
Learning Organization
LEARNING ORGANIZATION
การบริหารความพึงพอใจของทีมงาน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
Communities of Practice (CoP)
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
การก้าวสู่องค์กรแห่ง การเรียนรู้. * กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมันรวดเร็วและรุนแรง ก็ด้วยปัจจัยที่ เกิดจากการก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสาร สนเทศ ส่งผลให้เวทีการ.
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
Participation : Road to Success
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
วิชาวิศวกรรมความรู้ - การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์กร
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
สัมมนาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนสำหรับท้องถิ่น
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การวางแผนยุทธศาสตร์.
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Knowledge Management & Information Technology & Communication - ICT วสันต์ อติศัพท์, Ph.D. โอภาส เกาไศยาภรณ์ อำนาจ สุคนเขตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปัตตานี 17 ตุลาคม 2551

ละมั่งไตร่ตรองว่า สิงโตคิดอีกฟากหนึ่งว่า “หากฉันจะมีชีวิตอยู่ ฉันจะต้องวิ่งให้เร็วกว่าสิงโตที่วิ่งเร็วที่สุด” สิงโตคิดอีกฟากหนึ่งว่า “ฉันต้องวิ่งให้เร็วกว่าละมั่งที่วิ่งช้าที่สุด”

ความอยู่รอด VS ความเป็นเลิศ (Survival) (Excellence) การปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมภายนอก (External Adaptation) & การบูรณาการภายใน (Internal Integration) องค์กรแห่งการเรียนรู้ Learning Organization

Evolution of Civilization Agricultural Age Industrial Age Information Age Stone Age Pre 1800 1957

วัตถุประสงค์ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ Hyman Resource Development สังคม องค์การ บุคลากร

ธรรมชาติและพฤติกรรมของมนุษย์ ความต้องการ บรรลุสิ่งที่ตั้งใจ ลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ Abraham Maslow ความต้องการ การยอมรับนับถือ ความต้องการมีส่วนร่วมในสังคม ความต้องการความมั่นคงปลอดภัย ความต้องการทางกายภาพ

Community of Practice (CoP) การจัดการความรู้ (Knowledge management) เป็นทักษะ ไม่ใช่ความรู้เชิงทฤษฎี ไม่ทำ ไม่รู้ ฟังการบรรยาย ทำไม่เป็น คนระดับล่างผ่านการฝึก ทำได้ อธิบายไม่ได้

Community of Practice (CoP) วัฒนธรรมการเรียนรู้จะเกิดขึ้นตามมาได้เอง ชุมชนแนวปฏิบัติที่ดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะก่อกำเนิดวงจรการเรียนรู้ และแลกเปลี่ยนความรู้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด จนในท้ายที่สุด วัฒนธรรมการเรียนรู้จะเกิดขึ้นตามมาได้เอง

การจําแนกประเภทจุดมุงหมายการศึกษา ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) พุทธิพิสัย (Cognitive Domain) จิตพิสัย (Affective Domain)

การสร้างความรู้ Knowledge Construction การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการศึกษา การสร้างความรู้ Knowledge Construction

สภาพแวดล้อมใหม่ในการเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการศึกษา สภาพแวดล้อมใหม่ในการเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง Learner-centered ความรู้เป็นศูนย์กลาง Knowledge-centered สภาพแวดล้อมใหม่การเรียนรู้ Learning Environment ชุมชนเป็นศูนย์กลาง Community-centered การประเมินเป็นศูนย์กลาง Assessment-centered

ทักษะใหม่สำหรับนักศึกษา การสร้างความรู้ Knowledge Construction การสะท้อนคิด Reflection New Skills for Students การแสวงรู้ Inquiry การใช้เทคโนโลยี Technology -Use Reflective Practitioner: Reflection-in Action

Community of Practice (CoP) Tacit Knowledge ความรู้ที่มีรูปแบบที่ไม่แน่นอน ไม่มีกฎเกณฑ์ที่แน่ชัด Explicit Knowledge ความรู้ที่มีรูปแบบที่ชัดเจน กฎเกณฑ์แน่นอนและชัดเจน มิติของความรู้ Personal Knowledge ความรู้ส่วนบุคคล Organizational Knowledge ความรู้องค์กร

ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน Tacit Knowledge ความรู้ที่ชัดแจ้ง Explicit Knowledge ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน Tacit Knowledge อธิบายได้ แต่ยังไม่ได้ถูกบันทึก อธิบายได้ แต่ไม่อยากอธิบาย อธิบายไม่ได้ เน้นว่า Tacit K เป็นสิ่งที่ซ่อนเร้น 9

คุณอำนวย คุณเอื้อ คุณกิจ

Learning Organization Systems Thinking Team Learning Personal Mastery Learning Organization Mental Model Shared Vision Peter Senge, 1995

ความรู้องค์กรอยู่ที่ใด

เรามีการถ่ายทอดความรู้ในองค์กรอย่างไร

องค์กรแห่งการเรียนรู้ เป็นองค์การที่คนในองค์การได้ขยายขอบเขตความสามารถของตนอย่างต่อเนื่องทั้งในระดับบุคคล ระดับกลุ่มและระดับองค์การ เพื่อนำไปสู่จุดมุ่งหมายที่บุคคลในระดับต่างๆ ต้องการอย่างแท้จริง เป็นองค์การที่ความคิดใหม่ๆ และการแตกแขนงของความคิดได้รับการยอมรับ เอาใจใส่ และเป็นองค์การที่บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเนื่องในเรื่องราว วิธีการที่จะเรียนรู้ไปด้วยกันทั้งองค์การ (Peter Senge, 1995)

การเรียนรู้ขององค์กร การคิดอย่างเป็นระบบ System Thinking แบบแผนความคิด Mental Model ความเชี่ยวชาญเฉพาะบุคคล Personal Mastery การเรียนรู้ขององค์กร การเรียนรู้ของบุคคล การเรียนรู้ของทีมงาน การสร้างวิสัยทัศน์ร่วม Shared Vision การเรียนรู้ร่วมกันอย่างเป็นทีม Team Learning วินัย 5 ประการ (Five Disciplines)

วินัยที่ 2 : Personal Mastery ไฟแรงใฝ่รู้ควบคู่ด้วยศักยภาพ วินัยที่ 1 : Systems Thinking คิดเป็น อย่างมีระบบ ครบวงจร ความสามารถในการคิดให้ครอบคลุม รอบด้าน เข้าใจการเปลี่ยนแปลง เห็นความสัมพันธ์และการเชื่อมโยงของระบบย่อยต่างๆ ที่เกี่ยว ข้องกับการทำงาน มีการเรียนรู้จากประสบการณ์ ที่ผ่านมา จากบุคคลอื่น แล้วบูรณาการเป็นความรู้ใหม่ วิธีการใหม่ วินัยที่ 2 : Personal Mastery ไฟแรงใฝ่รู้ควบคู่ด้วยศักยภาพ ความสามารถในการพัฒนาศักยภาพ ของตนเอง สร้างผลงาน มีหลักการทำงาน มีพลัง กำลังใจ มีความ มานะพยายาม และ มีความสุข ในการทำงาน

วินัยที่ 3 : Mental Model รับรู้ภาพลักษณ์โลกรอบตัวอย่างถูกต้อง ความสามารถในการพัฒนาวิธีและรูปแบบความคิด ความเชื่อให้สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงและการเปลี่ยนแปลง โดย ไม่ยึดติด กับความคิดความเชื่อเก่าๆที่อาจล้าสมัย วินัยที่ 4 : Shared Vision สร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน ความสามารถในการที่ทุกคนร่วมกันสร้างภาพอนาคตของหน่วยงาน และของตนเอง ด้วยการแลกเปลี่ยนรับฟังซึ่งกันและกัน กล้าเปิดเผย กล้าเผชิญความขัดแย้งเพื่อประสานพลังการเรียนรู้ คิดสร้างสรรค์ มุ่งมั่นโดยไม่ย่อท้อ

วินัยที่ 5 : Team Learning เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม ความสามารถในการเรียนรู้ร่วมกัน ด้วยการพูดคุย สนทนา คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมิน รับรู้ความสามารถของเพื่อนร่วมงาน ด้วยความเต็มใจ และมีการแลกเปลี่ยนเผยแพร่ความรู้

What is CoP???

องค์ประกอบของชุมชนแนวปฏิบัติ

องค์ประกอบของชุมชนแนวปฏิบัติ Practice แลกเปลี่ยนและพัฒนาความรู้ร่วมกัน Community of Practice Domain ภาษาไทยเรียกว่า “โดเมน” แรงปรารถนาร่วมกันในเรื่องๆ หนึ่ง เข้าใจเป็นอย่างดีว่าอะไรเป็นประเด็นที่ต้องพูดคุยกัน มีวิธีการคิดและเข้าถึงปัญหาคล้ายๆ กัน Community “ชุมชน” ปฏิสัมพันธ์และสร้างความสัมพันธ์ ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการแก้ไขปัญหาและตอบคำถาม เชื่อมโยงกันข้ามทีมและหน่วยธุรกิจ (หรือองค์กร) Practice แลกเปลี่ยนและพัฒนาความรู้ร่วมกัน แลกเปลี่ยนข้อมูล เคล็ดลับ และแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ สร้างเครื่องมือและฐานข้อมูลความรู้ ชุมชนที่รวมตัวกันอย่างสมบูรณ์ภายใต้หัวข้อความรู้ที่พวกเขามีแรงปราถนาร่วมกัน และต้องการพัฒนาความรู้ให้ลึกซึ้งแล้วนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในงานประจำของตน

โดเมน แนวปฏิบัติ ชุมชน

ลักษณะของชุมชนแนวปฏิบัติ Community of Practice (CoP) ลักษณะของชุมชนแนวปฏิบัติ มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน ประสบปัญหาลักษณะเดียวกัน มีปฏิสัมพันธ์ต่อเนื่อง มีเป้าหมายร่วมกัน CoP มีความร่วมมือช่วยเหลือ วิธีปฏิบัติคล้ายกัน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกันและกัน มีความเชื่อ และยึดถือคุณค่าเดียวกัน

CoP เกี่ยวข้องกับ KM อย่างไร? Technology โครงสร้าง กระบวนการ เครื่องมือ KM CoPs

สมาชิกภาพใน CoP คนนอก ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ประสานงาน กลุ่ม แกนหลัก กลุ่มประจำ กลุ่มเปลือกนอก

Questions & Comments