ตามแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ด.ญ.กชกร โชคเฉลิมวงศ์ เลขที่ 15 ป.4/3
Advertisements

วงจรการประยุกต์ความรู้
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
นางกาญจนา แย้มลักษณะเลิศ
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์
เศรษฐกิจพอเพียง เงื่อนไขการตัดสินใจ แนวทางปฏิบัติ หลักพิจารณา
Research Problem ปัญหาการวิจัย
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
เศรษฐกิจพอเพียง.
เศรษฐกิจพอเพียง M2A จัดทำโดย 1.ด.ช.สาโรจน์ อินทรไชย เลขที่ 16
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 9
จ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน

การมีภูมิคุ้มกันที่ดี
เดินตามพ่อ อยู่อย่างพอเพียง หน้าหลัก ออกโปรแกรม.
การนำ หลักการ เศรษฐกิจพอเพียง มาใช้แก้ไขปัญหาการเมืองไทย
ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง.
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสิงห์บุรี
การพัฒนานวัตกรรมแนวปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
หลักการบริหารภาครัฐยุคใหม่
เศรษฐกิจพอเพียง ด.ญ.กิตติมา สุภโรจนีย์ ป.4/6
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
โดยเด็กชายทรงธรรม รูปสวยดี
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
คุณธรรม ***** สภาพคุณงามความดี
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
เมนูหลัก เนื้อหา อาจารย์ที่ปรึกษา ประวัติผู้จัดทำ.
“การสร้างองค์กรต้นแบบ เศรษฐกิจพอเพียง โดยการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินการของหน่วยงานภาครัฐ” จัดโดย สำนักงาน ปปช. สรุปและนำเสนอโดย ภญ.ธีรารัตน์ สุวรรณาลัย.
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลางโดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์
วิธีคิดแบบนักบริหาร ดร. พนม พงษ์ไพบูลย์
การเสริมสร้างให้บุคลากรรักองค์กร
K M กจ. ประจำเดือนมีนาคม 2551
KM ประจำเดือนตุลาคม 2550 สวัสดีค่ะ...พบกับข้อมูลข่าวสาร KM ของกองการเจ้าหน้าที่ ได้ที่นี่กันเป็นประจำ นะคะ ... และสำหรับการต้อนรับปีงบประมาณใหม่ ปี 2551.
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
เศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy.
สหเวชศาสตร์(กายภาพบำบัด)
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง หลวงในรักเรา เรารักในหลวง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางการดำรงชีวิต ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระ ราชดำรัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ปี พ. ศ เป็นต้นมา.
วิชาธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ สัปดาห์ที่ 1
จัดทำโดย นายธนวัฒน์ ทองหวี
เรื่อง เดินตามรอยเท้าพ่อหลวง
คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
คำอธิบายรายวิชา ศึกษา วิเคราะห์ในเรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส จำนวนตรรกยะ จำนวนอตรรกยะ รากที่สอง รากที่สาม การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและการนำไปใช้
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
เศรษฐกิจพอเพียง โดย ด.ช.พีรดนย์ ศรีสอน.
แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศ
จัดทำโดย ด.ช. ดิเรกรัตน์ ด่านลัมจาก เลขที่3
จะสำเร็จได้ด้วย ความพอดีของตน
GO!!.
เศรษฐกิจพอเพียง.
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
“ชีวิตมีคุณค่า พึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง”
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
เศรษฐกิจพอเพียง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตามแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 18 กรกฎาคม พ.ศ.2517

พระราชดำรัสเกี่ยวกับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ...การพัฒนาประเทศจำเป็นต้องทำตามลำดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐาน คือ ความพอมีพอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและใช้อุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชา เมื่อได้พื้นฐานมั่นคงพร้อมพอควรและปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลำดับต่อไป หากมุ่งแต่จะทุ่มเทสร้างความเจริญ ยกเศรษฐกิจขึ้นให้รวดเร็วแต่ประการเดียว โดยไม่ให้แผนปฏิบัติการสัมพันธ์กับสภาวะของประเทศและของประชาชนโดยสอดคล้องด้วย ก็จะเกิดความไม่สมดุลในเรื่องต่าง ๆ ขึ้น ซึ่งอาจกลายเป็นความยุ่งยากล้มเหลวได้ในที่สุด...

ประกอบด้วย 3ห่วง 2 เงื่อนไข

3 ห่วง ประกอบด้วย ห่วงแรก คือ ความพอประมาณ อันหมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยและไม่มากเกินไป ทั้งยังจะต้องไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น การไม่รู้จักพอประมาณ ก็คือ การที่มหาวิทยาลัยไม่รู้จักตนเองวิเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อนผิดพลาด ไม่รู้ว่าความสมดุลระหว่าง "การบริการวิชาการ" กับ "ความอยู่รอด" อยู่ตรงไหน ไม่รู้ว่าเมื่อใด ควร "ร่วมมือ" และเมื่อใดควร “ช่วงชิงความได้เปรียบ”

3 ห่วง ประกอบด้วย ห่วงที่สอง คือ ความมีเหตุผล ซึ่งหมายความว่า ในการตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้นๆ อย่างรอบคอบ ทั้งนี้จะต้องยอมรับด้วยว่า เรื่องของความคิดและการใช้เหตุผลนั้น เป็นทักษะที่ฝึกปรือได้ แต่ต้องอาศัยข้อมูลและข้อเท็จจริงที่มีน้ำหนัก มีความรอบด้านและมีจำนวนที่มากเพียงพอ ผู้บริหารที่ดีจะต้องมีความสามารถในการตั้งโจทย์ เพราะการตั้งโจทย์สำคัญกว่าการตอบโจทย์

3 ห่วง ประกอบด้วย ห่วงที่สาม การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง หมายถึง การที่มหาวิทยาลัยจะต้องเตรียมตัวให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล สิ่งเหล่านี้นับเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้มองเห็น “โอกาส” ก่อนผู้อื่น

2 เงื่อนไข สองเงื่อนไขนั้น หมายความว่า ในการตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมใดๆ ให้อยู่ในระดับความพอเพียงนั้น ต้อง อาศัย “ความรู้” และ “คุณธรรม” เป็นพื้นฐาน

2 เงื่อนไข เงื่อนไขที่หนึ่ง เงื่อนไขความรู้ ผู้บริหารจะต้องมีความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งมีความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาอย่างเชื่อมโยงกัน อันจะทำให้การวางแผนงานและการปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

2 เงื่อนไข เงื่อนไขที่สอง เงื่อนไขคุณธรรม หมายความว่า ผู้บริหารจะต้องตระหนักถึงความสำคัญของคุณธรรมและเชื่อมั่นว่า "คุณธรรมคือความถูกต้อง

2 เงื่อนไข โดยมีความซื่อสัตย์ สุจริต อดทนและพากเพียรเป็นที่ตั้ง ทั้งนี้คุณธรรมขั้นพื้นฐานสองประการที่ควรจะมีของผู้บริหาร น่าจะได้แก่ การมีขันติธรรมต่อความหลากหลายและความแปลกแยกของบุคคลและความคิดของบุคคล และการมีความกล้าหาญทางจริยธรรม อันหมายรวมถึง การกล้าที่จะคิดและกล้าที่จะเปลี่ยนแปลงด้วย