คะแนนและความหมายของคะแนน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ป.2 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน1,000”
Advertisements

การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
ค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ค่าการกระจาย ค่ามาตรฐาน
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
안녕하세요. ( อัน-นยอง-ฮา-เซ-โย )
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การตัดเกรด โดย อาจารย์ ดร.จตุภูมิ เขตจัตุรัส
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
Graphical Methods for Describing Data
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
การตัดเกรด อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
การแจกแจงปกติ ครูสหรัฐ สีมานนท์.
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
อาชีพ เชื้อชาติ เพศ เบอร์ของนักฟุตบอล ศาสนา
2 มิถุนายน อ. ศมณพร สุทธิบาก ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพและบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู แผนกสามัญ หมวดพลานามัย ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัยวัตถุประสงค์ ผลการศึกษา พบว่า โดยรวมนักเรียนมี ความพึงพอใจต่อคุณภาพ.
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
การแจกแจงปกติ.
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
การให้ระดับผลการเรียน
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ระดับอุดมศึกษา เรื่อง วิธีการกำหนดระดับความสามารถของผู้เรียน วิทยากร : รองศาสตราจารย์ ดร. สุพัฒน์ สุกมลสันต์ เวลา น .
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
หลักการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ - เพื่อพัฒนาผู้เรียนและตัดสิน ผลการเรียน - สอดคล้องครอบคลุมมาตรฐานการ เรียนรู้ / ตัวชี้วัด - ดำเนินการหลากหลายวิธี เหมาะสมกับสิ่งวัด.
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู แผนกช่างยนต์ ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัยวัตถุประสงค์ ผลการศึกษา พบว่า โดยรวมนักเรียนมี ความพึงพอใจต่อคุณภาพ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
จัดทำโดย นางสาว อรปรียา พ่วงจันทร์ เลขที่ 26 นางสาว นภาพร นฤสุข เลขที่ 38 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียนศรีสำโรงชนูปถัมภ์
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
พรชัย กิจเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คะแนนและความหมายของคะแนน สมพงษ์ พันธุรัตน์ สาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คะแนน (score) หมายถึง ตัวเลขที่แสดงขนาดหรือปริมาณของความสำเร็จจากการปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่ง ในทางการศึกษา มักใช้คะแนนที่ได้จากการวัดแทนขนาดหรือปริมาณความรู้ ความสามารถ (รวมทั้งคุณลักษณะต่างๆ ตามมาตรฐานตัวชี้วัดคุณภาพของผู้เรียน) วิธีการวัด และ เครื่องมือที่ใช้วัด มีผลเกี่ยวข้องโดยตรงกับคะแนน

X = T + E ธรรมชาติของคะแนน X คือ คะแนนที่วัดได้จากเครื่องมือต่างๆ

คะแนนดิบ (raw score) เป็นตัวเลขที่ได้จากการวัดด้วยเครื่องมือต่างๆ เช่น แบบทดสอบ เป็นตัวเลขที่อยู่ในมาตรเรียงลำดับเท่านั้น แต่ละคะแนนอาจมีช่วงห่างไม่เท่ากัน เป็นตัวเลขที่บอกขนาดหรือปริมาณงานที่ทำได้ เช่น ทำข้อสอบถูก 10 ข้อ ไม่ได้หมายความว่ามีความรู้เท่ากับ 10 เป็นตัวเลขที่ไม่มีความหมายในตัวเอง เช่น สอบได้ 10 คะแนน ไม่มีความหมายว่ารู้มากหรือน้อยเพียงใด คะแนนแต่ละงาน/วิชา ไม่สามารถนำมาเปรียบเทียบกันได้ เพราะหน่วยคะแนนอาจไม่เท่ากัน

คะแนนแปลงรูป (derived score) เป็นคะแนนที่ได้จากการแปลงคะแนนดิบ โดยใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์ ทำให้ได้คะแนนแปลงรูปที่มีช่วงห่างของคะแนนเท่ากัน สามารถนำคะแนนแปลงรูปของแต่ละวิชา มาเปรียบเทียบ และบวกลบกันได้ ทำให้คะแนนมีความหมาย โดยสามารถบอกสภาพการเรียนรู้ของนักเรียนได้ว่า ใครเก่งหรืออ่อนวิชาใด มากน้อยเพียงใด คะแนนมาตรฐาน (standard score) เป็นคะแนนแปลงรูปแบบหนึ่ง ที่มีค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานคงที่ มีช่วงคะแนนที่เท่ากัน สามารถนำมาเปรียบเทียบและรวมกันได้

คะแนนมาตรฐานเชิงเส้นตรง (linear transformation) เป็นการแปลงรูปคะแนนดิบให้เป็นคะแนนมาตรฐาน โดยยังคงรักษาลักษณะการแจกแจงของคะแนนไว้แบบเดิม Z = คะแนนมาตรฐานซี (Z-score) X = คะแนนดิบ X = คะแนนเฉลี่ยของคะแนนดิบ S = ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนดิบ T = คะแนนมาตรฐานที (T-score)

ตัวอย่างการแปลงคะแนนดิบให้เป็นคะแนนมาตรฐาน Z และ T คนที่ (i) คะแนน (xi) xi-x Zi Ti=50+10Zi 1 3 -3 -1.28 37.21 2 6 0.00 50.00 8 0.85 58.53 4 -4 -1.71 32.94 5 9 1.28 62.79 7 -1 -0.43 45.74 0.43 54.26 X 6.00 S 2.35 1.00 10.00

คะแนนมาตรฐานเชิงโค้งปกติ (normalized standard score) เป็นคะแนนมาตรฐานที่แปลงมาจากคะแนนดิบ โดยอาศัยพื้นที่ใต้เส้นโค้งการแจกแจงแบบปกติ ปรับให้มีการกระจายของคะแนนดิบที่อาจมีลักษณะเบ้ซ้ายหรือเบ้ขวาให้มีลักษณะการกระจายแบบสมมาตร

ขั้นตอนการแปลงคะแนนดิบ ให้เป็นคะแนน T-ปกติ 1. เรียงคะแนนดิบจากคะแนนมากไปหาคะแนนน้อย 2. นับจำนวนความถี่ของแต่ละคะแนน (f) 3. หาความถี่สะสม จากคะแนนน้อยไปหาคะแนนมาก (cf) 4. หาความถี่สะสมถึงจุดกึ่งกลางของแต่ละชั้นคะแนน โดยเอาความถี่สะสมลบด้วยครึ่งหนึ่งของความถี่ (cfm=cf – ½ f) 5. หาตำแหน่ง percentile ของคะแนน โดยคำนวณจาก (%cfm=cfm x 100/N) 6. นำผลลัพธ์ในข้อ 5 ลบออกด้วย 50 (%cfm-50) 7. นำผลลัพธ์ในข้อ 6 หารด้วย 100 ((%cfm-50)/100) 8. นำผลลัพธ์ในข้อ 7 ไปเปิดหาค่า Z จากตารางการแจกแจงปกติ 9. คำนวณหาค่า T-ปกติ จากสูตร T = 50 + 10Z

ตารางแสดงค่า Z จากพื้นที่ใต้โค้งปกติ

ตัวอย่างการแปลงคะแนนดิบเป็นคะแนน T-ปกติ X f cf cfm %cfm %cfm-50 (%cfm-50)/100 Z T=50+10Z 10 2 50 49.00 98 48 0.48 2.05 70.50 9 5 45.50 91 41 0.41 1.34 63.40 8 43 40.50 81 31 0.31 0.88 58.80 7 38 33.00 66 16 0.16 54.10 6 12 28 22.00 44 -6 -0.06 -0.15 48.50 13.50 27 -23 -0.23 -0.61 43.90 4 11 7.00 14 -36 -0.36 -1.08 39.20 3 1.50 -47 -0.47 -1.88 31.20

การรวมคะแนน กำหนดว่าคะแนนรวมที่นำมาพิจารณาสรุปผลการเรียนมีส่วนประกอบอะไรบ้าง แต่ละส่วนมีน้ำหนักความสำคัญเท่าไร แปลงคะแนนดิบของแต่ละส่วนประกอบให้เป็นคะแนนมาตรฐาน คูณคะแนนมาตรฐานด้วยน้ำหนักความสำคัญของแต่ละส่วนประกอบ รวมคะแนนมาตรฐานที่คูณด้วยน้ำหนักความสำคัญเข้าด้วยกัน

ตัวอย่างส่วนประกอบและน้ำหนักความสำคัญของคะแนนจากการวัดผลการเรียนรู้ (ร้อยละ) การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ 20 ผลงานการทำโครงงาน 40 การสอบกลางภาคเรียน การสอบปลายภาคเรียน รวม 100

เอกสารอ้างอิง จตุภูมิ เขตจัตุรัส. (2556). การวัดและประเมินผลการศึกษา. ขอนแก่น:คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ประกฤติยา ทักษิโณ. (2555). การวัดและประเมินผลการศึกษา. ขอนแก่น:คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ประภาพร ศรีตระกูล. (2549). การวัดและประเมินผลการศึกษา. ขอนแก่น:คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. พัชรี จันทร์เพ็ง. (2557). การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในชั้นเรียน. ขอนแก่น:คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. สมพงษ์ พันธุรัตน์. (2554). ความรู้ด้านการวัดผล การประเมิน การวิจัย และ สถิติ ทางการศึกษา. (http://home.kku.ac.th/sompo_pu/spweb/) ขอนแก่น: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.