การตรวจสุขภาพทารกในครรภ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

การดูแลระยะตั้งครรภ์
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
สรุปผลการประชุม สถานะสุขภาพ
การสั่งการออกกำลังกาย (EXERCISE PRESCRIPTION)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
โรคเลือดจางธาลัสซีเมีย ภัยแอบแฝงที่แก้ได้
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องและตั้งใจทำตามกำลังความสามารถของตนเอง ภายในเวลาที่กำหนดให้
การประเมินความเสี่ยงทางกาย-ทางจิต และการรายงานผล
ประวัติ (ต่อ ) สภาพครอบครัว ผลกระทบจากการเจ็บป่วยของผู้ป่วย
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
นพ.สมชาย ลี่ทองอิน กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
สิ่งที่แม่ควรรู้ >>>กลไกการหลั่งน้ำนม
กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลน่าน
โรคคอตีบ (Diphtheria)
การส่งต่อมารดาและทารกหลังคลอด ปีงบประมาณ 2547
เครื่องกรองทราย SAND FILTER.
Antepartum Fetal Health Assessment
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
แนวทางการให้ยาต้านไวรัสในหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีและทารกในกรณีต่างๆ
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
การดำเนินงานแก้ไขปัญหา การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ห้องคลอด
นายแพทย์สมพงษ์ กิตติพิบูลย์
- กลุ่มโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน Acute coronary syndrome (ACS)
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
การให้การปรึกษาในการตรวจเอชไอวี แบบฟังผลในวันเดียว Counseling with Same Day HIV Testing 12 July 2011.
Dip.Thai Broad Preventive Medicine
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
*ppt.2 ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า การอบรมการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า สำหรับผู้ปฏิบัติในพื้นที่ สนับสนุนโดย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
GDM and Cervical cancer screening
Umbilical cord prolapsed
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
จำนวนผู้มารับบริการฝากครรภ์
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม
นพ.ธีรวีร์ วีรวรรณ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู ศูนย์ฯ 56 ทับเจริญ สำนักอนามัย
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน มีนาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
ตกลง บริการ ประเมิน ปัญหา หา แนวทาง แก้ไข ติดตาม ประเมินผล Self Assessmemt ---> ประเมิน ความรู้, พฤติกรรมสุขภาพ ----> ก้างปลาปัญหา ----> Recall อาหาร 24.
การดูแลหญิงตั้งครรภ์ระยะคลอด
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
กับการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ
ใช้เกมพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2
Postterm พญ พัชรินทร์ นภามาศ 14/01/2015.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554.
การดูแลหญิงตั้งครรภ์แนวใหม่
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
Service plan สาขาทารกแรกเกิด จ.เลย
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
Facilitator: Pawin Puapornpong
การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตรวจสุขภาพทารกในครรภ์ นพ.ปราโมทย์ ศรีแก้ว พบ. ป.ชั้นสูงทางคลินิก(สูตินรีเวช) วว.สูตินรีเวช อว.เวชกรรมป้องกัน(แขนงสุขภาพจิตชุมชน)

การทดสอบสุขภาพจากการดิ้นของทารก การเคลื่อนไหวลดลง ปัจจัย ภาวะพร่องออกซิเจน(hypoxia) ความพิการของทารก ผลของยา เช่น barbiturate, narcotic, benzodiazepine vibrioacoustic stimulation serum glucose level ท่าและการออกกำลัง

วิธีการนับลูกดิ้น การบันทึกการคลี่อนไหวของทารกโดยมารดา 1.แบบกำหนดช่วงเวลา(fixed time period) 2.แบบกำหนดจำนวนครั้งที่ทารกดิ้น( fixed number) Sodovsky 30-60 นาที วันละ 3 ครั้งหลังอาหาร ถ้าเฉลี่ยแล้วน้อยกว่า3 ครั้งต่อชั่วโมง ให้นับต่ออีก 6-12 ชม เกณฑ์การวินิจฉัย ไม่ดิ้นเลยใน 12 ชม ดิ้นน้อยกว่า 10 ครั้งใน 12 ชม เรียกว่า movement alarm signal (MAS) ซึ่งมีผลการตั้งครรภ์ไม่ดีถึงร้อยละ 78.4

Nonstress test วิธีการทำ ท่า semi-fowler วัด Blood pressure Tocodynameter วัด uterine contraction บันทึก FHS ไปเรื่อยๆ วัดอย่างน้อย 20-40 นาที

NST การแปลผล Reactive NST= มี FHR acceleration อย่างน้อย 2 ครั้งใน 20 นาที ซึ่งอาจเกิดในช่วงใดช่วงหนึ่งในการเฝ้าสังเกต 40 นาที อัตราตายของทารกก่อนระยะคลอด 3.2/1000 สาเหตุผลลบลวง abruptio placenta 24% DM 21% Cord abnormal 17% Postterm 14% IUGR 10% FHR acceleration หมายถึงการเพิ่มขึ้นของ FHR> 15 bpm กินเวลา > 15 วินาที Nonreactive ผลไม่เป็นไปตามเกณฑ์

การอ่านองค์ประกอบของ EFM Baseline 110-160 bpm < 110= fetal bradycardia >160= fetal tachycardia Variability 5-25 bpm <5 bpm= decrease variability >25 bpm= mark vaiability Periodic pattern acceleration deceleration early= head compression variable= cord compression late = placental insufficiency

Fetal Tachycardia Baseline >160 bpm ตอบสนองต่อภาวะเครียดไม่รุนแรง เช่นการมีไข้ ไม่ใช่ asphyxia มารดามีไข้ วิตกกังวล คอพอกเป็นพิษ ทารกซีดเล็กน้อย ถ้าเป็น Fetal distress ต้องมี การลดลงของ variability ร่วมด้วย

Fetal bradycardia อัตราการเต้นของหัวใจต่ำกว่า 110 bpm นานกว่า 10 นาทีขึ้นไป ถ้ามี variability ปกติ และ accelerationร่วมด้วยมักไม่มี fetal distress มักเกิดจากการกดศีรษะทารกมาก(vagal reflex) ถ้ารุนแรงเป็นผลจาก fetal hypoxia มักมีperiodic pattern ร่วมด้วย

Sinusoidal pattern Baseline FHR เป็น sine waveมี amplitude 5-15 bpm ความถี่ 2-5 cycle ต่อนาที ไม่มี short term variability ไม่มี acceleration สัมพันธ์กับ fetal anemia จาก Rhesus isoimmunization หรือ ทารกเสียเลือด ยาบางอย่าง meperidine สัมพันธ์กับ fetal hypoxia

Management non reactive NST ทำ EFM อีกครั้งหลังรับประทานอาหาร ถ้ายัง nonreactive NST ให้ทำ Biophysical Profile

Biophysical profile (BPP) Fetal breathing หายใจอย่างน้อย 1 ครั้ง30 นาที Gross body Movement มีการขยับของแขนขาอย่างน้อย 2 ครั้งใน 30 นาที Fetal Tone มีการงอเหยียดของแขนขาหรือกำมืออย่างน้อย 1 ครั้งใน 30 นาที Reactive FHR Amniotic fluid = deep pocket> 2 cm

แนวทางการดูแลรักษาตามคะแนน BPP 10/10 เฝ้าติดตาม 8/10 เฝ้าติดตาม 8/10(AFลด) ให้คลอดถ้าครบกำหนด ทดสอบ สัปดาห์ละ 2 ครั้งถ้าไม่ครบกำหนด 6/10 ให้คลอดถ้าครบกำหนด ถ้าไม่ครบ กำหนดให้ตรวจซ้ำภายใน 24 ชม ถ้าน้อยกว่า 6 ให้คลอด 4/10 มากกว่า 32 สัปดาห์ให้คลอด น้อยกว่า 32 สัปดาห์ให้ทดสอบทุกวัน 2/10 .ให้คลอด

Late Deceleration Uteroplacental insufficiency Fetal hypoxia มีการลดลงของ FHR แบบค่อยเป็นค่อยไปและกับคืนสู่ปกติในลักษณะเดียวกัน(gradual onset) เกิดเมื่อมี uterine contraction ไปแล้วสักระยะหนึ่ง กลไกจาก reflex late DC(กระตุ้น vagus nerve) non-reflex(hypoxia)DC จาก myocardia ischemia

Variable Deceleration Deceleration ไม่สม่ำเสมอ ทั้ง onset ของการเกิด และ duration มีความสัมพันธ์กับการหดตัวของมดลูกไม่สม่ำเสมอ รูปร่างมีความแตกต่างกันไปในแต่ละตัวของ Deceleration มีความสัมพันธ์กับการกดสายสะดือ

NICHD fetal monitoring workshop(1997) interpretation of Fetal Heart Rate Patterns Pattern workshop interpretation Normal baseline 110-160 variability 6-25 bpm Acceleration present intermediate no consensus Severely abnormal recurrent late or variable DC with zero variability substantial bradycardia with zero variability

Management criteria for Nonreassuring Fetal Heart Rate Pattern Repositioning of patient Discontinuation of uterine stimulation and correction of uterine hyperstimulation Vaginal examination Correction of maternal hypotension associated with regional analgesia Monitoring of fetal heart rate-by electronic fetal monitoring or auscultation Request that qualified personnel be in attendance for newborn resuscitation and care Administration of oxygen to the mother.