ผลการดำเนินงานโครงการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
ข้อมูลสภาพปัจจุบัน ปัญหา
การศึกษาดูงานในประเทศ และต่างประเทศ
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
เขาวังคู่บ้าน ขนมหวาน เมืองพระ เลิศล้ำศิลปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
จะต้องผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่กำหนดไว้ทั้ง 4 ข้อ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
กลวิธี 3. มาตรการทางกฎหมายเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการโรงพยาบาล
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
รางวัล R2R ดีเด่นระดับตติยภูมิ โดยสำนักวิจัยระบบสาธารณสุข
โครงการกรมการแพทย์ พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ แบบเบ็ดเสร็จ ปี 2551
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
Good Governance :GG.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
ระบบHomeward& Rehabilation center
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
ตำบลเมืองยาว อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสุโขทัย
โครงการพัฒนารูปแบบบริการระยะยาว
สรุปผลงานโดยย่อ ทีมสหวิชาชีพ เป็นองค์รวม มีส่วนร่วม
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุของพัทลุง
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
โดย กศน. จังหวัดเลย.  นายศรีวิชัย ตลับนาค  นายเฉลิมพณ หยาดหลั่งคำ  นายดุสิต สาระมโน  น. ส. สุธิดา พุทธทองศรี  น. ส. ปิยะฉัตร กมลรัตน์
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลการดำเนินงานโครงการ เสริมสร้างระบบบริการการดูแลแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน ปี 2550 เขต 1 1 รายงานผล 1.1 การตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 1.2 การอบรมบุคลากรผู้ปฏิบัติงาน 1.3 การอบรมอาสาสมัครผู้ดูแลผู้สูงอายุ 1.4 วิเคราห์ผลการดำเนินงาน 2 พื้นที่ดำเนินงานในปี 2551

1.1 การตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ตรวจคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ จำนวน 3000 ราย ในพื้นที่ - ตำบลบางสีทอง 900 ราย - ตำบลวัดชลอ 1,000 ราย - ตำบลบางกะสอ 2,100 ราย

1.2 การอบรมบุคลากรผู้ปฏิบัติงาน แนวคิดการจัดหลักสูตร พัฒนาองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้จาก ประสบการณ์การจาก Practice Model และจากพื้นที่ สร้างการมีส่วนร่วม ความเข้มแข็งของทีมงาน

การอบรมบุคลากรผู้ปฏิบัติงาน การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน เขต 1 ระหว่างวันที่ 13-14 ธันวาคม 2550

เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่จำนวน 50 คน - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด - ร.พ.พระนั่งเกล้า - ร.พ.บางกรวย - สสอ.บางกรวย - สสอ.บางสีทอง

โดย นายแพทย์บุญชัย อิศราพิสิษฐ์ “การจัดบริการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและการจัดโครงสร้างที่พักอาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ” โดย นายแพทย์บุญชัย อิศราพิสิษฐ์

การจัดบริการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในสถานสงเคราะห์วาสนะเวศน์ และในชุมชน โดย คุณโสภาพรรณ ทุมโฆสิต

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา กระบวนการ Empowerment และสรุปผลการดูงาน รศ.ดร. รัชนี สรรเสริญ ผศ.วรรณรัตน์ ลาวัง คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา rachanee@.buu.ac.th / lawang@buu.ac.th / www.buu.ac.th

ควรใช้ประโยชน์จาก Model มากกว่าลอกเลียนแบบ Model

กระบวนการชราภาพทางคลินิก น.พ.ชัยโรจน์ ขุมมงคล กระบวนการชราภาพทางคลินิก Aging Process Senescence METABOLIC SYNDROME

แนวคิดหลักในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน กระบวนการพยาบาลในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน กลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน แนวทางการพัฒนาการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน

แนวทางการดำเนินงานในพื้นที่

2 ได้รับความรู้ประสบการณ์มากขึ้น 60 ผลการอบรม ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มาก พอใช้ ปรับปรุง 1 เรื่องที่จัดน่าสนใจ 40 58 2 2 ได้รับความรู้ประสบการณ์มากขึ้น 60 3 ความรู้ประสบการณ์ที่ได้รับสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในงานได้ 24 71 4 4 การมีส่วนร่วม 33 9 5 สถานที่ 44 47 6 ระยะเวลา 22 31 7 เอกสาร 25 59 14 8 การอำนวยความสะดวก 34

บทเรียนที่ได้จาก....การศึกษา เรียนรู้ ดูงาน ดูงาน “ผู้สูงอายุได้ผ่านชีวิตและทำทุกอย่างให้ลูกหลาน สังคม การจัดระบบการดูแลที่ดี ทำให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอยู่อย่างสมศักดิ์ศรี” “สามารถนำแนวคิดไปใช้ในจังหวัดนนทบุรีได้ จะนำไปปฏิบัติให้เป็นจริง” “ การดูแลผู้สูงอายุทั้งกายและใจเป็นเรื่องละเอียดอ่อน ผู้ดูแลต้องเข้าใจความรู้สึก ความต้องการของผู้สูงอายุ จึงจะสามารถดูแลผู้สูงอายุได้ดี และสามารถพัฒนางานผู้สูงอายุได้ดี”

1.3 การอบรมอาสาสมัครผู้ดูแลผู้สูงอายุ รุ่นที่ 1 จำนวน 30 คน วันที่ 26-27 พฤศจิกายน 2550 รุนที่ 2 จำนวน 30 คน วันที่ 6-7 ธันวาคม 2550

1.4 วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน 1.4 วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน โครงการได้รับการตอบรับและความร่วมมือที่ดีจากพื้นที่ รวมทั้งได้รับความสนใจจากจังหวัดอื่น ควรทำต่อเนื่อง และขยายพื้นที่ มีการประสานการดำเนินงานที่ดี ทั้งในส่วนกลาง ศูนย์เขต และพื้นที่ สำหรับเรื่องเร่งด่วนควรประสานให้ทันต่อเหตุการณ์ การกำหนดกิจกรรมและระยะเวลาจากส่วนกลาง ควรรับฟังสถาพการทำงานจริงในพื้นที่ เช่นการตรวจคัดกรอง การกำหนดให้จัดอบรมอาสาสมัคร ก่อนการอบรมบุคลากร ควรแยกงบประมาณเป็นรายเขต/พื้นที่ ตามความพร้อมและผลการดำเนินงาน

2. พื้นที่ดำเนินการในปี 2551 ? ? ? 2. พื้นที่ดำเนินการในปี 2551 ? ? ? พื้นที่ดำเนินการในปี 2550 ตำบลบางสีทอง อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี

สวัสดี