ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประชุมบุคลากรประจำปีการศึกษา 2551
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ระบบเศรษฐกิจ.
การสังเคราะห์ประสบการณ์ กระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ
นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
บทเรียนบาง ประการ จาก ประสบการณ์ การส่งเสริมการ เรียนรู้ และจัดการ ความรู้
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
กรอบความคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์ และแผนงาน ปีงบประมาณ 2550
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
สภาพปัจจุบันและปัญหาสาธารณสุขของประเทศและท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กรมสรรพสามิต
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
นโยบายด้านบริหาร.
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
บุญเรือง ขาวนวล คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
สรุปการประชุมระดมความคิด
พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การ วิจัย และนวัตกรรม พัฒนาการเรียนรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ตั้งแต่วัยเด็ก ต่อเนื่องทุกระดับการศึกษา เพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ให้
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
5.1 การส่งเสริมการนำ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาใช้ใน การพัฒนาประเทศ (3, ล้าน บาท ) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ที่จำเป็น โดยเร่งจัดตั้งอุทยาน.
กลยุทธ์การขับเคลื่อน งานพัฒนาชุมชน ให้มีประสิทธิภาพ ประจำปี ๒๕๕๖
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศ
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข

ความเข้าใจพื้นฐานบางประการ 1 การวิจัยเป็น “เครื่องมือ” สำหรับการพัฒนาประเทศและสังคมโดยรวม ความชัดเจนเรื่องเป้าหมายการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสมดุลระหว่างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ และความมั่นคงของสังคม/ความสุขของประชาชน เราอยากได้สังคมแบบไหน ต้องออกแบบระบบวิจัยให้รองรับ ระบบวิจัยเป็น “สมอง” ที่ต้องเชื่อมโยงกับ “ร่างกาย” คือ การนำความรู้ไปสู่การปฏิบัติ และสรุปบทเรียนจากการปฏิบัติเพื่อเป็นความรู้ ความแตกต่าง “การวิจัย” และ “การจัดการความรู้”

การวิจัยและการจัดการความรู้ การวิจัยเน้นสร้างความรู้แล้วจึงเผยแพร่/ถ่ายทอดสู่ผู้ใช้ แต่การจัดการความรู้เป็นการสร้างและใช้ความรู้อยู่ที่เดียวกัน การวิจัยเป็นกิจกรรมของนักวิจัย ส่วนการจัดการความรู้เป็นกิจกรรมของผู้ปฏิบัติงาน การวิจัยเน้นความรู้แจ้งชัด (explicit knowledge) ความรู้ที่แยกส่วน มีความชัดเจน มีการพิสูจน์ทางทฤษฎี ส่วนการจัดการความรู้เน้นความรู้ฝังลึก (tacit knowledge) เป็นความรู้บูรณาการ ไม่ค่อยชัดเจน ผ่านการพิสูจน์โดยการใช้ประโยชน์ การวิจัยเน้นการทำเอกสารรายงานเป็นผลงานวิจัย การจัดการความรู้เน้นการจดบันทึกเพื่อการใช้งาน/เรียนรู้ของผู้ปฏิบัติ ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

ความเข้าใจพื้นฐานบางประการ 2 สุขภาพและบริการสุขภาพไม่ใช่ “สินค้า” ปรกติ ที่สามารถใช้กลไกตลาด ทำให้เกิดความเป็นธรรมและประสิทธิภาพสูงสุด การวิจัยสุขภาพมุ่งเน้นประโยชน์สาธารณะมากกว่าประโยชน์ของปัจเจกชน แต่การลงทุน R&D จากภาคเอกชน ก็เป็นแรงขับเคลื่อนสำคัญในการพัฒนาเทคโนโลยี จะรักษาสมดุลนี้อย่างไร การพัฒนาโดยมุ่งเน้นที่ฐานรากของประเทศ หรือความเข้มแข็งของชุมชน เจดีย์เริ่มต้นจากการสร้างฐานที่มั่นคง (ศ.นพ.ประเวศ วะสี)

ภาพฝันระบบวิจัยสุขภาพ 1 ระบบที่เน้นการ “สร้างคน” ที่ไม่จำกัดเฉพาะ “นักวิจัย” แต่ครอบคลุมการส่งเสริมประชาชนให้เกิด “วัฒนธรรมการสร้างและใช้ความรู้” ทรัพยากรบุคคลเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดในการพัฒนา เป้าหมายไม่ควรจำกัดแค่การพัฒนาจำนวนและศักยภาพ “นักวิจัย” เท่านั้น ระบบที่ขยาย “การวิจัย” หรือ “การจัดการความรู้” ให้ครอบคลุมกว้างขวางที่ไม่จำกัดแค่ภายในระบบวิจัย ปฏิรูประบบ “การศึกษา” ให้เป็นระบบที่เน้น “การเรียนรู้” และสร้างแรงจูงใจในการใฝ่เรียนรู้ มากกว่าระบบการ “ท่องจำ” การขยายแนวคิดการวิจัยจากงานประจำ (R2R)

มหาวิทยาลัยและการวิจัย การปฏิรูประบบการเรียนรู้ (ของมหาวิทยาลัยและนักศึกษา) โดยเชื่อมโยงมหาวิทยาลัยกับการพัฒนา แนวคิด 1 มหาวิทยาลัยดูแล 1 จังหวัดของ ศ.นพ.ประเวศ วะสี แนวทางการกำหนดหัวข้อ/ประเด็นวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา ระบบสนับสนุนการวิจัยของนักศึกษา/บุคลากรมหาวิทยาลัย การปฏิรูประบบแรงจูงใจบุคลากรในการทำวิจัย ระบบการค่าตอบแทนและการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ (ที่ไม่เน้นแค่การตีพิมพ์ในวารสารวิชาการเท่านั้น) มหาวิทยาลัยนอกระบบ และการอยู่รอดทางการเงินที่ไม่กระทบต่อบทบาทมหาวิทยาลัยต่อสังคม

ภาพฝันระบบวิจัยสุขภาพ 2 ระบบที่เน้นการลงทุนโดยภาครัฐเป็นหลัก การลงทุนของเอกชนเป็นส่วนเสริม โดยมีการควบคุมกำไรจากนวัตกรรมต่างๆ อย่างเหมาะสม ภาครัฐอาจอุดหนุนการวิจัยของภาคเอกชน เพื่อจูงใจให้ดำเนินการและส่งเสริมการทำกิจกรรมเพื่อสังคม (social entrepreneur) มีระบบการจัดการงานวิจัย/การจัดการความรู้ที่คล่องตัวมีประสิทธิภาพ และส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ การบูรณาการกระบวนการสร้างและการส่งเสริมการใช้ความรู้ การพัฒนาให้เกิด “ผู้จัดการงานวิจัย (RM)” และ “ผู้จัดการความรู้ (KM)” ให้เกิดขึ้นในทุกๆ องค์กร

ขอบคุณครับ