นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล Dr.Supakit Sirilak นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เวียงอินทร์, เชียงราย 3 สิงหาคม 2554 นพ. ศุภกิจ ศิริลักษณ์ พบ., อว., MPHM. ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ konc62 @ yahoo.com
หลักการคู่ขนานในระบบสุขภาพ: Dr.Supakit Sirilak หลักการคู่ขนานในระบบสุขภาพ: การแพทย์ สุขภาพบุคคล รักษาโรค การสาธารณสุข ชุมชน ป้องกันโรค The Best The Most
ลักษณะระบบบริการสุขภาพไทย Dr.Supakit Sirilak ลักษณะระบบบริการสุขภาพไทย ให้บริการสาธารณสุขแบบผสมผสาน ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันและควบคุมโรค รักษาพยาบาล ฟื้นฟูสภาพ การวางสถานบริการตามเขตการปกครอง บริการเป็นของภาครัฐมากกว่า 80%
ระบบบริการสุขภาพของไทย Dr.Supakit Sirilak โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป (95) บริการตติยภูมิ จังหวัด ( 200,000-2M.) โรงพยาบาลชุมชน (734) บริการทุติยภูมิ อำเภอ (10,000-100,000) ศสมช สาธารณสุขมูลฐาน หมู่บ้าน, ชุมชน ระบบบริการสุขภาพของไทย ศูนย์แพทย์เฉพาะทาง รพ.สต. (9,750) บริการปฐมภูมิ ตำบล (1,000-10,000) กสค SELF CARE ครอบครัว
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี SA 1 การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในชุมชนเมืองที่มีประชากรหนาแน่น การพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง 4 สาขา 3 ระดับ SA 2 SA 3 การพัฒนา รพ.ระดับต่างๆ โดยเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่าย ให้เติบโตอย่างมีทิศทาง ภารกิจชัดเจน จังหวะก้าว เกื้อหนุน ซึ่งกันและกัน
ระบบบริการระดับประเทศและพื้นที่สุขภาพ คก.ระบบบริการสุขภาพแห่งชาติ กำหนดทิศทางนโยบายบริการสุขภาพ สำนักงานบริหารยุทธศาสตร์กสธ. ขับเคลื่อนนโยบาย และระบบสนับสนุน . OFFICE OF STRATEGIC MANAGEMENT PARTNERSHIP สถาบัน อปท ปชช กองทุน NHSB OFFICE OF REGIONAL HEALTH SERVICE คณะกรรมการสุขภาพเขต บริหารระบบสุขภาพระดับพื้นที่เขต ตามผังบริการที่สมบูรณ์ครบวงจร สำนักงานสาธารณสุขเขต ขับเคลื่อนนโยบายและจัดระบบเครือข่ายบริการและเป็นหน่วยคู่สัญญาหลัก AHB
ยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตสุขภาพ การเมืองท้องถิ่นและภาวะผู้นำ การแปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติและอำนาจ การออกแบบกลไกการอภิบาลระบบ การบริหารทรัพยากรและการคลังระบบสุขภาพ การติดตามกำกับและการออกแบบตัวชี้วัด การออกแบบระบบบริการสุขภาพ
กระทรวง สาธารณสุข ผู้ว่าฯ CEO สปสช./ สปส. ท้องถิ่น สช. สสส. กองทุนฯ Multidisciplinary Dr.Supakit Sirilak กระทรวง สาธารณสุข ผู้ว่าฯ CEO สปสช./ สปส. ท้องถิ่น สช. สสส. Area กองทุนฯ สพฉ. PPP สรพ. Output/ Outcome/ Impact
หลักการอภิบาลระบบที่ดี Good Governance Dr.Supakit Sirilak หลักการอภิบาลระบบที่ดี Good Governance หลักความคุ้มค่า หลักความรับผิดชอบ หลักการมีส่วนร่วม หลักความโปร่งใส หลักคุณธรรม หลักนิติธรรม
ปัญหาของระบบสาธารณสุข Dr.Supakit Sirilak ปัญหาของระบบสาธารณสุข ประกันสุภาพ 100 %, เข้าถึง+คุณภาพ โครงสร้างประชากรและการเคลื่อนย้าย โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง การกระจายอำนาจด้านสุขภาพ
การสำมะโนประชากรประเทศไทย พ.ศ. 2553 ประชากรรวม 65.4 ล. (ชาย 32.1ล. หญิง 33.3 ล. 20.3 ครอบครัว) คนไทย 62.1 ล. ต่างด้าว 3.3 ล. (เขตเมือง 46% ชนบท 54%) ผู้สูงอายุ 7.6 ล. (11.4%) อัตราเจริญพันธุ์ 1.5 อัตราเพิ่ม 0.77%
ความชุกของโรคเบาหวาน การรักษา และการควบคุมระดับ น้ำตาลในประชากรไทย พ.ศ. 2547, 2552 2547 2552 6.9 % 6.9% 43.6% 69.8% 29.2 % 54.5% ความชุกของโรคเบาหวานในประชากร ทราบว่าป่วย / ผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด ได้รับการรักษาที่ได้ผล / ผู้ป่วยทีรักษาทั้งหมด (FPG< 140mg/dL)
ความชุกของโรคความดันโลหิตสูง การรักษา และคุม ความดันเลือดได้ในประชากรไทย พ.ศ. 2547, 2552 2547 2552 22.0% 21.4% 30.4% 49.7% 36.7 % 50.6% ความชุกของโรคความดันโลหิตสูงในประชากร ทราบว่าป่วย / ผู้ป่วยความดันสูงทั้งหมด รักษาและควบคุมความดันได้/ ผู้ป่วยที่รักษาทั้งหมด (BP <140/90 mmHg)
หัวใจ 4 ดวง Dr.Supakit Sirilak โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) แผนสุขภาพตำบล กองทุนสุขภาพตำบล
ส่งเสริมสุขภาพแนวใหม่ บริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม รพ.สต. ส่งเสริมสุขภาพแนวใหม่ เพิ่มคุณภาพบริการ บริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม
กลุ่มประชากรเป้าหมาย/แนวคิด/มิติสุขภาพ Dr.Supakit Sirilak กลุ่มประชากรเป้าหมาย/แนวคิด/มิติสุขภาพ เชื่อมโยง เชิงรุก ชุมชน เข้าถึง องค์รวม ประสาน ต่อเนื่อง ชุมชน สังคม บุคคล ครอบครัว ชุมชน สิ่งแวดล้อม ปัญญา ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู จิต เด็ก สตรี สูงอายุ พิการ โรคเรื้อรัง กาย วัยรุ่น/เยาวชน ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
รูปแบบ รพ สต Dr.Supakit Sirilak เทศบาล ชนบท พิเศษ (เกาะ, ห่างไกล) รพ.สต.เดี่ยว ประชากรหนาแน่น / อาจมีหลาย รพ.สต.ในพื้นที่ ลักษณะเฉพาะ อาทิ โรงงาน, ห่างไกล, เกาะ, แหล่งท่องเที่ยว รพ.สต.เครือข่าย ประชากรเบาบาง / รวมเป็นเครือข่าย ลดปัญหาเรื่องบุคลากร พื้นที่ ลักษณะรพ.สต.
บุคลากร Dr.Supakit Sirilak จำนวนขั้นต่ำ เดี่ยว 4 (1+3) เครือข่าย (1+6) ; 1:1,250 ปรับย้ายกำลังคน (โยกย้ายภายใน/ชดเชยกำลังคน) สรรหาบุคลากรใหม่ ตำแหน่งข้าราชการ ระบบจ้างงานใหม่ (ระเบียบใหม่,สิทธิประโยชน์,สัญญาจ้าง) เพิ่มศักยภาพของบุคลากร (อบรม,ศึกษาต่อ,ผลิตใหม่) ผลิตเพิ่ม (ทำแผนระยะกลาง) อสม./ลูกจ้าง
การเงินการคลัง : งบดำเนินงาน Dr.Supakit Sirilak การเงินการคลัง : งบดำเนินงาน งบเหมาจ่ายรายหัว และงบเพิ่มเติมจาก สปสช. งบประมาณสนับสนุนจากท้องถิ่น งบส่งเสริมสุขภาพพื้นที่ (P&P area based) กองทุนสุขภาพตำบล เงินบริจาค P&P = Promotion and Prevention
เกณฑ์การประเมินขั้นต่ำของ รพสต. Dr.Supakit Sirilak เกณฑ์การประเมินขั้นต่ำของ รพสต. ปรับภาพลักษณ์ บุคลากรตามเกณฑ์ ระบบข้อมูลครอบครัว (Family Folder), ชุมชน และระบบการรักษาพยาบาลที่มีการปรึกษากับแม่ข่ายรวมถึงระบบส่งต่อ บริหารงานโดยคณะกรรมการพัฒนา รพ.สต.
ประเภทของข้อมูลที่จำเป็น Dr.Supakit Sirilak ประเภทของข้อมูลที่จำเป็น ข้อมูลประชากร : แยกตามกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ข้อมูลการเฝ้าระวังโรค : แจ้งเตือนการระบาด การแก้ปัญหาโรคที่มีความสำคัญในพื้นที่ ข้อมูลการให้บริการ ข้อมูลทรัพยากร : บุคลากร งปม เวชภัณฑ์ วัสดุ ครุภัณฑ์ ข้อมูลแวดล้อมด้านสาธารณสุข ข้อมูลชุมชน
กลุ่มเป้าหมายบริการ Dr.Supakit Sirilak กลุ่มปกติ : ข้อมูลประชากร กลุ่มเสี่ยง : ข้อมูลการตรวจคัดกรอง กลุ่มป่วย : ข้อมูลการวินิจฉัยโรคและรักษาพยาบาล กลุ่มพิการหรือมีภาวะแทรกซ้อน : ข้อมูลการให้บริการและติดตามเยี่ยมบ้าน
ขั้นตอนการใช้ประโยชน์ Dr.Supakit Sirilak ขั้นตอนการใช้ประโยชน์ แหล่งและการเก็บข้อมูล Data Sources and Collection : Good Quality การจัดข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่ Data Summarization : Issues Specific การวิเคราะห์ข้อมูล การค้นพบปัญหาให้เร็ว Data Analysis and Early Detection วางแผนแก้ไข และติดตามกำกับ ประเมินผล Planning, Monitoring and Evaluation
ยุทธศาสตร์ข้อมูลสุขภาพแห่งชาติ Dr.Supakit Sirilak ยุทธศาสตร์ข้อมูลสุขภาพแห่งชาติ National Health Information Strategy
ความสำคัญของข้อมูลข่าวสารสุขภาพ Dr.Supakit Sirilak Concept ความสำคัญของข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำหรับการตัดสินใจเชิงนโยบาย (Evidence-based policy) สำหรับการกำหนดวิธีการแก้ไขปัญหาสุขภาพเฉพาะ สำหรับการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สำหรับการขับเคลื่อนด้านสุขภาพภาคประชาชน สำหรับการติดตามประเมินผลการดำเนินงานด้านสุขภาพ
ปัญหาของระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ Dr.Supakit Sirilak Big gap ปัญหาของระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ ขาดกลไก และทรัพยากร สนับสนุนระบบข้อมูลที่ต่อเนื่อง ข้อมูลข่าวสารสุขภาพ ขาดคุณภาพ ไม่ครอบคลุม และซ้ำซ้อน ขาดระบบจัดการข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ ขาดกลยุทธ์การใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่เป็นระบบ
5 ยุทธศาสตร์ชาติ Dr.Supakit Sirilak 1) พัฒนากลไกสนับสนุนด้านระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ 2) บูรณาการและพัฒนาระบบข้อมูลที่เหมาะสม 3) กำหนดมาตรฐานด้านข้อมูล และพัฒนาคุณภาพของข้อมูล 4) พัฒนาระบบจัดการข้อมูล และการเชื่อมโยงข้อมูล 5) พัฒนาระบบการสื่อสาร ข้อมูลและการใช้ประโยชน์ ข้อมูลที่มีคุณภาพ ตอบสนองต่อการใช้ โดยมีระบบจัดการข้อมูลแบบบูรณาการ และมีประสิทธิภาพ
สวัสดี