การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นการตรวจติดตาม
Advertisements

สรุปการถอดบทเรียนของ Smart Officer ต้นแบบ
รายงานการระบาดศัตรูพืช
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
การปฏิบัติตามแนวทางถ่ายโอนภารกิจฯ จังหวัดเพชรบูรณ์ 1
การจัดเก็บข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง ปี 2550 กรมส่งเสริมการเกษตร
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
สำนักงานเกษตรอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย
แบ่งออกเป็น 3หมวด คือ 1. ข้อมูลหมวด ก. เป็นข้อมูลส่วนบุคคลของ เกษตรกร ประกอบด้วย ข้อ 1. ลักษณะการประกอบการเกษตร ข้อ 2. สมาชิกในครัวเรือนที่ร่วมกิจกรรม.
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
ศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ ๑ จังหวัดชัยนาท
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานให้กับเกษตรกร ๒.เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการศัตรูพืชได้ด้วยตัวเองอย่างยั่งยืน.
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
กลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาการบริการอารักขาพืช
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
การดำเนินงานการบริหารศัตรูพืช
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
โครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้
ครั้งที่ 1 วันที่ กุมภาพันธ์ 2556
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
โครงการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการบริหารการจัดการศัตรูพืชและการเขตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงให้กับเกษตรกร สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร.
หลักสูตร การผลิตพืชตามระบบ การรับรองมาตรฐาน GAP
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
บริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช
ระบบเตือนภัยศัตรูพืช
รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ฝ่ายวิชาการ
การติดตามประเมินผลและรายงาน_Louis_500227
กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
การดำเนินงาน เพื่อดูแลคุณภาพ ชีวิตเกษตรกร โดย นางสาวมยุรี บุญญาเสนีย์กุล นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 5 สำนักพัฒนาเกษตรกร กรม ส่งเสริมการเกษตร.
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
วันที่ 22 กรกฎาคม 2553 นายธวัฒน์ชัย ม่วง ทอง ได้ให้เกียรติเป็นประธานเปิดงานโครงการคลินิกพืช ณ สำนักงานเกษตรอำเภอบ้านสร้าง สถานการณ์การทำ การเกษตรในสภาวะปัจจุบัน.
หน่วย เคลื่อนที่เร็ว วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมสถานการณ์ ศัตรูพืชและลดปัญหาการระบาด ได้ทันต่อเหตุการณ์ เป้าหมาย ครอบคลุมพื้นที่การระบาด ศัตรูพืช 76 จังหวัด.
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช ประกอบด้วย 2 กิจกรรมย่อย 1. การอบรมวิธีการสำรวจตรวจนับศัตรูพืช/ ศัตรูธรรมชาติ 2. แปลงติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช

กิจกรรมย่อยที่ 1 การอบรม ฯ วัตถุประสงค์ เพื่อให้เจ้าหน้าที่/อาสาสมัครที่รับผิดชอบโครงการฯมีความรู้ความเข้าใจการสำรวจศัตรูพืช/ศัตรูธรรมชาติ/สภาพอากาศสามารถนำไปถ่ายทอดให้กับผู้ผลิตนำไปประยุกต์ใช้อย่างถูกต้องเหมาะสม

เป้าหมาย เจ้าหน้าที่ 5,093 ราย และอาสาสมัคร เกษตรสำรวจ ฯ 15,279 ราย วิธีการดำเนินงาน นำหลักสูตรเข้าไปจัดร่วมกับการอบรมที่ปรึกษาโครงการ FS เช่น การสำรวจตรวจนับศัตรูพืช / ศัตรูธรรมชาติ / วินิจฉัยศัตรูพืช ระยะเวลาดำเนินการ มีนาคม 2550 งบประมาณ อบรมพร้อมกับการอบรมวิทยากรระดับ จังหวัด

กิจกรรมย่อยที่ 2 แปลงติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช วัตถุประสงค์ เพื่อนำข้อมูลมาประกอบการวางแผนเตือนการระบาด /ป้องกันกำจัดศัตรูพืช เกษตรกรผลิตพืชปลอดภัย 881 กลุ่ม ได้เรียนรู้ /เข้าใจระบบนิเวศในแปลงโครงการ เป้าหมายจัดทำแปลงทุกอำเภอ 881 แปลง ครอบคลุม 5 กลุ่มพืช + 9 ศูนย์บริหารศัตรูพืช )

หลักการจัดทำแปลงติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช จังหวัดคัดเลือกชนิดพืชที่จะทำแปลงติดตามฯ ตามกลุ่มพืชที่กำหนดไม่น้อยกว่า 1 กลุ่มพืช อำเภอคัดเลือกแปลงติดตาม/แปลงสำรวจอำเภอละ 1 แปลง พร้อมอาสาสมัครสำรวจแปลง ดำเนินการติดตามสถานการ์ทุกสัปดาห์รายงานผลให้อำเภอ/จังหวัด/ศบพ. แปลงที่มีแนวโน้มการระบาดให้เตือนการระบาดให้เกษตรกรในพื้นที่ทราบ

ตัวอย่างตารางคัดเลือกพืชของแต่ละอำเภอ/ จังหวัด ไม้ดอก ข้าว พืชไร่ ไม้ผล พืชผัก หมายเหตุ รวม 1.อยุธยา 10 2มะม่วง 2 ถั่ว 2 กุหลาบ 16 - 2.สุพรรณบุรี 4 2 อ้อย 2 มะม่วง 2 คะน้า 10 - 3. จังหวัดที่ 3 - 76 รวม 881 แปลง เงื่อนไข 1. จังหวัดคัดเลือกกลุ่มพืชเศรษฐกิจที่สำคัญอยู่ในโครงการ FS ไม่น้อยกว่า 1 กลุ่ม 2. ระบุชื่อพืชที่ใช้เป็นแปลงติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช ในแต่ละอำเภอ แจ้งกรมฯ ทาง e –mail : agriqua 32 @doae.go.th

วิธีดำเนินงานรายหน่วยงาน ตำบล 1.นวส.(ตำบล)/อาสาสมัครเกษตร (ผ่านระบบ โรงเรียนเกษตรกร) 2. เก็บข้อมูลทุกวันจันทร์บันทึกในแบบฟอร์ม 3. เตือนการระบาดผ่าน-หอกระจายข่าว/วิทยุ 4. รายงานผลให้อำเภอ (ส่งแบบสำรวจ)

อำเภอ มอบหมาย นวส.รับผิดชอบงานป้องกันกำจัดศัตรูพืช รวบรวมข้อมูลจากตำบลต่างๆ/วิเคราะห์/ประมวลผล ถ้ามีแนวโน้มการระบาดให้เตือนการระบาดระดับอำเภอ ผ่านวิทยุ / หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น ถ้าระบาดแนะนำการกำจัดโดยวิธีผสมผสาน รายงานจังหวัดทุกวันพุธส่งแบบสรุปทาง e-mail

จังหวัด 1. ผู้รับผิดชอบ รวบ รวม ข้อมูลจากอำเภอต่างๆวิเคราะห์/ ประมวลผล 1. ผู้รับผิดชอบ รวบ รวม ข้อมูลจากอำเภอต่างๆวิเคราะห์/ ประมวลผล 2. ถ้ามีแนวโน้มการระบาดเตือนระดับจังหวัด วิทยุ / นสพ.ท้องถิ่น 3. รายงานผลให้ ศบศ. เขต กรมฯ ( ทาง e-mail) ผู้รับผิดชอบ : กลุ่มส่งเสริมการผลิต

ศูนย์บริหารศัตรูพืช 1.นวส.รับผิดชอบงานเตือนภัยศัตรูพืชรวบรวมข้อมูลของแต่ละจังหวัดและของศูนย์ วิเคราะห์ / ประมวลผล 2. ถ้าพบมีแนวโน้มระบาดเตือนระดับเขตผ่านทาง จดหมายข่าว /อื่นๆ 3. รายงานให้เขต , กรมฯ (ส่งแบบสรุปทาง e-mail )

สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขต 1. สนับสนุนวิชาการให้แก่จังหวัดต่าง ๆ 2. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของจังหวัดและศูนย์ ฯ

ส่วนกลาง กรมส่งเสริมการเกษตร 1. รวบรวมข้อมูลของแต่ละศูนย์ วิเคราะห์/ ประมวลผล 2. จัดทำข่ายเตือนการระบาดระดับประเทศ ผ่านทางสื่อinternet /วิทยุ / หนังสือพิมพ์ / โทรทัศน์ 3.รายงานผลการดำเนินงานให้ผู้บริหารกรมฯทราบ ผู้รับผิดชอบ :ส่วนบริหารศัตรูพืช กลุ่มงานพยากรณ์และเตือนการระบาด

วิธีการสำรวจ แบ่งกลุ่มสำรวจเป็น 5 กลุ่มพืช ดังนี้ ข้าว / พืชไร่ / ไม้ผล-ไม้ยืนต้น / พืชผัก และกลุ่มไม้ดอกไม้ประดับ

ตัวอย่างการสำรวจ ชนิดพืช ชนิดศัตรูพืช วิธีการสำรวจ ข้าว เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล แมลงหล่า หนู หอยเชอรี่ โรคไหม้ นับจำนวนศัตรูพืชที่พบ /จุด สำรวจร่องรอยการทำลายที่พบทั้งแปลง พบกี่จุดใส่ผลรวม นับจำนวนไข่/ ตัวหอยที่พบ ทั้งแปลงใส่เป็นผลรวม นับจำนวนใบ/ รวงที่เกิดโรค จุดละ10ใบ/รวง

แบบสำรวจศัตรูข้าว

แบบสรุปสำรวจศัตรูข้าวระดับอำเภอ

แบบสรุปสำรวจศัตรูข้าวระดับจังหวัด

แบบสรุปสำรวจศัตรูข้าวระดับเขต(ศูนย์)

งบประมาณ ดำเนินการ 881 อำเภอ ๆ ละ 3,200 บาท เป็นเงินทั้งสิ้น 2, 819, 200 บาท เป็นค่าวัสดุและค่าใช้จ่ายที่จำเป็น เช่นค่าอุปกรณ์ เครื่องเขียน และค่าน้ำมันเชื้อเพลิงของเจ้าหน้าที่

การรายงาน อำเภอรายงานจังหวัดทุกวันพุธ(แบบสรุประดับอำเภอ) ทางe-mail /เอกสารทางราชการ จังหวัดรายงานศูนย์ฯ/เขต /กรมฯ(แบบสรุประดับจังหวัด) ทางe-mail /เอกสารทางราชการ ศูนย์ฯรายงานเขต /กรมฯ(แบบสรุประดับศูนย์) ทางe-mail /เอกสารทางราชการ