การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
Advertisements

การสอนงาน (Coaching) Internal Training & Coaching
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ปัญหาในการสั่งงาน 1. ตัวเราเอง/หัวหน้าไม่กล้า, เกรงใจ, กลัว ต้องเชื่อมั่นตนเอง 2. ไม่รู้ขั้นตอนสั่งงานที่ดี จับประเด็นไม่ได้
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
Research Problem ปัญหาการวิจัย
ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การติดต่อสื่อสาร สร้างสรรค์ประโยชน์ สร้างความประทับใจที่ดี
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
วิธีการทางสุขศึกษา.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การสื่อสารเพื่อการบริการ
6. การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ. มาตรฐานความ ประพฤติ การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ มาตรฐานความ ประพฤติ 7. การทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน.
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
วัฒนธรรมองค์กร & การอยู่ร่วมกัน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และผู้นำทางวิชาการ
เพ็ญศรี คำเหล็ก พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ทีมบริหารลูกค้าสัมพันธ์(CRM)
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
BRAND “ กรมควบคุมโรค ” สรุปการประชุมปฏิบัติการจัดทำสัญญนิยม 19 เมษายน 2550 ณ จังหวัดเชียงใหม่ ประชุมกรมควบคุมโรค 15 พฤษภาคม 2550.
สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ  ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับกรอบ การประเมินผล ชี้แจงทำความเข้าใจและ มอบหมายงานให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องรับผิดชอบ ดำเนินการ  จัดทำคำรับรองระดับหน่วยงาน.
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
Participation : Road to Success
สรุปกิจกรรมการประชุมวันที่ 6 ตุลาคม 2553
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นำเสนอคณะกรรมการบริหาร รพ. เมื่อ 10 มิ.ย.53
กรอบความคิดของ กลุ่ม 7 งานตามพันธกิจกรมอนามัย. Health Index สร้าง Health Agenda : ในชีวิตประจำวัน ( ถูก / ไม่ถูก, เกิดแล้ว / ยังไม่เกิด, จวนจะเกิด / กำลังจะเกิด.
ความรู้สู่การประชาสัมพันธ์งาน ด้านการศึกษา คณะวารสารศาสตร์และ สื่อสารมวลชน Knowledge Management.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
จัดการความรู้เรื่องอะไร ? มีองค์กรใดบ้างที่ตั้งแต่ทำงานมา ไม่ได้ใช้ความรู้ อะไรเลย ? หรือ มีองค์กรใดบ้างที่ไม่เคยรู้ว่ามี ความรู้อะไรบ้างที่จำเป็นสำหรับการทำงานใน.
ดร.อุดมพร ธีระวิริยะกุล และทีมงานคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
วัฒนธรรมกรมอนามัย.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
วิชาปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร ต้องทำความเข้าใจในตัวสารที่จะถ่ายทอด มีข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วนของสารประเมินผู้รับสาร คิดวิธีการถ่ายทอดและพยายามอธิบายให้ผู้รับสารเข้าใจ สื่อสารต้องชัดเจน ตรงไปตรงมา ผู้สื่อสารหากมีประเด็นไม่ชัดเจน ต้องหาข้อมูลเพิ่มเติม คิดเทคนิคในการสื่อสารให้ง่าย เช่น อธิบายเป็นภาพ ประเมินความเข้าใจผู้รับสารตลอดการดำเนินการ ผู้รับสาร ตั้งใจฟัง มีการสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมเพื่อให้เข้าใจชัดเจน มีการทดลองทำและสอบถามความถูกต้องตลอดเวลา (สื่อสาร 2 ทาง) เคารพความคิดเห็นผู้อื่น ตัวสาร มีรายละเอียดชัดเจน ครบถ้วน ไม่เปลี่ยนแปลง คงที่ ไม่บิดเบือน

ประเด็นสื่อสาร:วิสัยทัศน์กรมฯ ปี 54-63 “เป็นองค์กรชั้นนำระดับนานาชาติ ที่สังคมเชื่อถือและไว้วางใจ เพื่อปกป้องประชาชนจากโรคและภัยสุขภาพด้วยความเป็นเลิศทางวิชาการภายในปี 63” กลุ่มเป้าหมาย : ยุคลากรของกรมฯทุกคน ทัศนคติ : ทั้งบวกและลบ ความรู้ที่เกี่ยวข้อง : นิยามคำสำคัญ ชี้แจงการถ่ายทอดเนื้อหาให้ผู้รับสารเข้าใจชัดเจนถูกต้องครบถ้วนตรงกัน

อุปสรรค : การสื่อสารไม่ครบถ้วน ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย สิ่งสนับสนุน : ช่องทางมีหลายช่องทาง เช่น websiteอบรมและประชาสัมพันธ์ ความมุ่งมั่นในการปฏิบัติ : กำหนดเป็นนโยบายและตัวชี้วัดทั้งระดับองค์กรและบุคคล มีการติดตามประเมินผลโดยผู้บังคับบัญชาทุกระดับ

การวางแผน เนื้อหา ช่องทาง ระยะเวลา ผู้ส่ง/ผู้รับ 1. วิสัยทัศน์กรม ปี54-63 ประชุมชี้แจงและถ่ายทอด จัดทำสื่อ “จำขึ้นใจ” วิสัยทัศน์กรมฯ เพิ่มเผยแพร่ เป็น สไลด์ 6 เดือนภายใน ตุลาคม 53 มิ.ย – ก.ย 53 ผู้ส่ง-กรมฯ ผู้รับ-หน่วยงานในสังกัด 2. การร่วมงานแผนปฏิบัติการสู่วิสัยทัศน์ 3. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การประชุม/สัมมนา ประชุมชี้แจงแผน/website ม.ค.54 ต.ค.55 ผู้ส่ง-หน่วยงาน ผู้รับ-บุคลากร

การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 2 การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 2 ผู้ส่งสาร สื่อสารข้อมูลถูกต้องและครบถ้วน ชัดเจน สื่อสารข้อมูลเป็น key word มีการติดตามงานทำถูกหรือไม่ ผู้รับสาร ยอมรับฟังความคิดของเพื่อนร่วมทีม มีการทบทวนข้อมูลกับผู้สื่อสาร มีกระบวนการทำงานเป็นทีม อุปสรรค ใช้วิธีการสื่อสารโดยการพูดอย่างเดียว

การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 3 การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 3 มีเป้าหมายชัดเจน มีการวางแผน มีการถ่ายทอด ปรึกษาหารือ ลองผิดลองถูก รับฟังซึ่งกันและกัน ยอมรับการเปลี่ยนแปลง การทำงานเป็นทีม มีการให้กำลังใจ บรรยากาศในทีม อุปสรรค เทคนิคในการถ่ายทอด ผู้ปฏิบัติไม่ได้รับคำสั่งโดยตรง ผู้รับคำสั่งได้รับข้อมูลไม่ครบถ้วน

การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 4 การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 4 ผู้ส่งสาร ต้องทำความเข้าใจ ซักถาม วิเคราะห์หาหลักการให้พบ ติดตามผลงานเป็นระยะๆโดยสังเกตผลงานว่าตรงตามที่โจทย์กำหนดหรือไม่ หากไม่ตรงให้คำแนะนำ เพื่อให้มีการแก้ไข เป็นกำลังใจให้ทีมงานคอยบอกว่าใกล้ถึงจุดหมายหรือยัง ผู้รับสาร รับฟังโจทย์/ทำความเข้าใจ/ซักถาม/จับหลักการให้ได้ว่าเข้าใจของเรื่องนี้คืออะไร วิเคราะห์งานอย่างละเอียด รับฟังความคิดเห็นของคนในกลุ่ม คอยสื่อสาร ให้กำลังใจกัน เชื่อมั่นในตัวผู้รับสาร/ผู้นำ ซักถามผู้ส่งสารเป็นระยะๆหากไม่แน่ใจคอยซักถาม ผู้รับสารว่าถูกต้องหรือไม่ สาร/ข้อมูล ยิ่งมากยิ่งละเอียดจะทำให้งานสำเร็จเร็วขึ้น

สรุป 1. ผู้รับข่าวสารต้องฟัง ทำความเข้าใจกับโจทย์ ถ้าไม่รู้ก็ซักถาม จับหลักการให้ได้ ว่าหัวใจคืออะไร รับฟังโจทย์ ทำความเข้าใจ ซักถาม ผู้ถ่ายทอดต้องคอยติดตามและหากไม่เป็นไปตามโจทย์ ถ้าจะให้ข้อเสนอแนะ แก้ไข ผู้ทำงานต้องวิเคราะห์อย่างละเอียด รับฟังความคิดเห็นของคนในกลุ่มคอยสื่อสาร ทำงานร่วมกัน ให้กำลังใจกัน เชื่อมั่นในตัวผู้รับข่าวสาร/ผู้นำ สังเกตพิจารณาความเป็นไปได้ของข่าวสาร/โจทย์ บรรลุเป้าหมาย/เป็นผลงานร่วมกัน