เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
เรื่อง เครือข่ายอินเทอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
นำเสนอ เรื่อง x.25.
การสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
การเรียนครั้งที่ 9 บทที่ 4: “Telecommunications, the Internet, Intranets, and Extranets” โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์ อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
นางสาวมะลิวรรณ ระหูภา
นายชะเวรินทร์ อินสุวรรณ เลขที่ 12 ม.5/4
บทที่ 9 การเลือกซื้อใช้งาน และ การติดตั้ง อุปกรณ์เครือข่าย
EDGE GPRS.
ก้าวย่างของ 3G เทคโนโลยีที่ต้อง จับตามอง ในตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ทุกวันนี้ มีใครต่อใคร หลายคนกล่าวถึง 3G มากขึ้นทุกขณะ และรู้สึกตื่นเต้น อยากให้ 3G มาถึงเร็ว.
การสื่อสารข้อมูล.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยี 3G. เทคโนโลยี 3G เทคโนโลยี 3G เทคโนโลยี 3G คืออะไร 3G หรือ Third Generation เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคที่ 3 อุปกรณ์การสื่อสารยุคที่ 3 เป็นอุปกรณ์ที่ผสมผสาน.
การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้
การสื่อสารทางไกลและเครือข่าย (Telecommunication And Networks)
( Code Division Multiple Access)
ISDN (Integrated Services Digital Network)
TelecommunicationAndNetworks
DSL : Digital Subscriber Line
มีหมายเลข IP Address มากกว่าเดิมมาก ทำให้เพียงพอต่อความ ต้องการของผู้ใช้ เครือข่ายมีความน่าเชื่อถือมากขึ้นกว่าเดิม เพราะเป็นการใช้งาน IP จริงทั้งหมด.
EDGE.
Personal Area Network (PAN)
โทรศัพท์เคลื่อนที่เซลลูลาร์
SMTP.
WIMAX มาทำความรู้จักกับ wimax กันดีกว่า Wimax คืออะไร หน้าที่ของwimax
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย
บรรยายโดย นายประสพพงษ์ บัวทอง วิศวกรไฟฟ้าสื่อสาร หรือ พญาไท 314
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
โปรโตคอลของระบบเครือข่าย INTERNET และ Wireless LAN
ส่วนที่ 2 เทคโนโลยีเครือข่าย
โอฬาริก สุรินต๊ะ CS/MIS
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบ่งตามกลุ่มผู้ใช้
เทคโนโลยีไร้สายและดาวเทียม
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Introduction to Information and Communication Technology)
การบริหารสำนักงานยุคใหม่
Social Media for Education การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Media
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
รองเลขาธิการคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
อินเทอร์เน็ต Internet
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce
ระบบการสื่อสารข้อมูล 3(2-2) นก. (Computer Network System) โดย อ.สมบูรณ์ ภู่พงศกร Chapter 1 Introduction.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ เรื่อง การใช้งานบน Internet.
ADSL คืออะไร.
วัตถุประสงค์ บอกความหมายและส่วนประกอบของการสื่อสารข้อมูลได้อย่าง ถูกต้อง บอกคุณสมบัติพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลได้ บอกความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และประโยชน์
INTERN ET Internet คือ อะไร ? เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ที่ทำการ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ หลายล้านเครื่องกว่า 130 ประเทศทั่วโลกเข้า ด้วยกัน มีบริการต่าง.
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น ครู โรงเรียนหนองกี่พิทยาคม
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
3G โทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่สาม หรือมาตรฐาน IMT-2000
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
การเชื่อมต่อ Internet การเชื่อมต่อไปยัง ISP การเชื่อมต่อไปยังระบบ LAN การเชื่อมต่อแบบไร้สาย การเชื่อมต่อผ่านระบบเคเบิลทีวี
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
ISP ในประเทศไทย
การใช้งานอินเตอร์เน็ต
Internet Service Privider
ระบบสื่อสารข้อมูลไร้สาย
คอมพิวเตอร์ ยุคที่ 5. ในยุคของคอมพิวเตอร์วีแอลเอสไอ เมื่อ ไมโครคอมพิวเตอร์มีขีดความสามารถ สูง ทำงานได้เร็ว สามารถประมวลผลและ แสดงผลได้ครั้งละมากๆ จึงทำให้
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย ด. ญ. ตริตราภรณ์ วงค์กิติ เลขที่ 14 ด. ญ. ปิยกานต์ กุนราชา เลขที่ 19.
บทบาทของคอมพิวเตอร์.
ระบบ 3.9G จัดทำโดย นางสาวพนิดาเรืองบุญญา ม.5/6 เลขที่ 2.
จัดทำโดย ด. ช. ต่อสักดิ์ ถาน้อย ม.1/4 เลขที่ 9 ด. ญ. ศิวัชญา ศรีทองวัน ม.1/4 เลขที่ 8 ส่ง อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
นางเชาวลี สมบูรณ์ดำรงกุล
จัดทำโดย ด. ช. สินชัย พรมสินชัย เลขที่ 3 ม.1/2 ด. ญ. ภาณุมาศ ไชยวงค์ เลขที่ 14 ม.1/2.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย

เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายยุคต่างๆ 1G (First Generation) 2G (Second Generation) 2.5G (Second Point Five Generation) 3G (Third Generation) 4G (Forth Generation)

เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายยุค 4G เทคโนโลยีการสื่อสารบนโทรศัพท์มือถือในปัจจุบันก้าวเข้าสู่ยุค3G แต่ผู้ให้บริการส่วนใหญ่ในประเทศไทยยังอิงกับเทคโนโลยีของ2G   ส่วนประเทศญี่ปุ่นและไต้หวันนั้นเทคโนโลยีการสื่อสารบนโทรศัพท์มือถือได้ก้าวไปสู่ยุคของ 4G อย่างชัดเจน หากมองถึงพัฒนาการของระบบการสื่อสารของโทรศัพท์มือถือทั่วโลกนั้น  ต้องยอมรับว่าประเทศญี่ปุ่นผลักดันตัวเองไปสู่ระบบการสื่อสารในอนาคตก่อนใครทั้ง ๆ ที่เทคโนโลยีเหล่านี้แต่เดิมนั้นมาจากทางยุโรปแทบทั้งสิ้น 

1G (First Generation) ยุคเริ่มต้นของระบบการสื่อสารของโทรศัพท์มือถือ หรือเรียกว่า 1G (First Generation)  เริ่มใช้งานประมาณ พ.ศ. 2525 ใช้การส่งสัญญาณแบบ Analog การเชื่อมโยงของเครือข่ายเป็นแบบ Circuit switching คุณภาพของเสียงยังไม่ดี ความเร็วของการส่งต่ำ ยังไม่มีระบบความปลอดภัยของการใช้งาน ทำให้มีการลักลอบใช้งานกันได้ง่าย

1G (First Generation) ระบบที่ใช้ในยุคนี้ก็คือระบบ AMPS (Advanced Mobile Phone Service) ใช้คลื่นความถี่ระหว่าง 800 – 900 เมกะเฮิรตซ์  ในประเทศไทยใช้งานกันน้อยมาก เนื่องจากเทคโนโลยีเพิ่งเข้ามาทำให้ค่าบริการและตัวเครื่องโทรศัพท์มีราคาสูงมาก

2G (Second Generation) ยุคนี้การส่งข้อมูลเริ่มเปลี่ยนจาก Analog มาเป็นการเข้ารหัสแบบดิจิทัล (Digital Encoding) เริ่มใช้งานประมาณ พ.ศ. 2535 การส่งข้อมูลใช้ความเร็วได้มากขึ้น ระบบที่ใช้งานในยุคนี้ได้แก่ ระบบ GSM มีระบบความปลอดภัยของข้อมูล โดยมีระบบการเข้ารหัสมาใช้ ยุคนี้ถือเป็นยุคเริ่มต้นของการส่งข้อมูลนอกเหนือจากการส่งเสียง เริ่มมีการส่งข้อความสั้น ๆ หรือ Short message

2G (Second Generation) เริ่มมีการใช้งาน Wireless Application Protocol (WAP) เกิดขึ้น ในช่วงปลายของยุคนี้เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LAN) เริ่มมีการใช้งานด้วยความเร็วไม่มากนัก

2.5G (Second Point Five Generation) เทคโนโลยีการสื่อสารบนโทรศัพท์มือถือปัจจุบันประเทศไทยเพิ่งจะเข้าสู่ยุค 2.5G  แต่ก็มีผู้ให้บริการบางรายที่ก้าวไปสู่ยุคของ 3G ด้วยเหตุผลที่ว่าต้องการเป็นผู้นำเทคโนโลยีการสื่อสารแห่งอนาคต  เริ่มใช้งานประมาณ พ.ศ. 2545 ผู้ใช้บริการส่วนใหญ่  ยังคุ้นเคยกับระบบสื่อสารในยุค 2G  หรือ 2.5G  มากกว่า  ทำให้การผลักดันไปสู่ยุค 3G  จึงเป็นไปค่อนข้างลำบาก  และยังไม่คุ้มค่าด้วยการลงทุน  ทำให้เทคโนโลยีของ 2.5G  จึงเข้ามาเป็นสะพานเชื่อมต่อไปสู่ยุคหน้า  สำหรับเทคโนโลยี 2.5G  ที่มีใช้อยู่ตอนนี้ก็คือ GPRS : (General Packet Radio Service)   

3G (Third Generation) ระบบการสื่อสารที่ได้รับความนิยมทั่วโลกขณะนี้ คือ 3G ที่แพร่หลายมากที่สุด  เริ่มใช้งานประมาณ พ.ศ. 2548 คุณสมบัติและความสามารถของ 3G มีดังนี้  ใช้คลื่นความถี่ 2 กิกะเฮิรตซ์ สามารถเชื่อมต่อเข้าสู่เครือข่ายได้ตลอดเวลา สามารถส่งข้อมูลที่เป็นมัลติมีเดียได้  รองรับการใช้งานประเภทดิจิตอลคอนเทนต์ 

3G (Third Generation) การประชุมทางไกลแบบเห็นหน้า (Video conference) การชมภาพยนตร์หรือ Video clip รองรับการเข้าถึงเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (IP network) อย่างเต็มรูปแบบ สามารถทำโรมมิ่ง (roaming) ได้ทั่วโลก

4G (Forth Generation) ความเร็วในการสื่อสารได้ถึงระดับ 20-40 Mbps เทคโนโลยีสื่อสารในยุค 4G  ความเร็วนั้นเหนือกว่า 3G มาก ในประเทศไทยยังไม่มีให้เห็น ความเร็วในการสื่อสารได้ถึงระดับ 20-40 Mbps เครือข่ายโทรศัพท์ที่ใช้เทคโนโลยี 4G ที่ประเทศญี่ปุ่นนั้นสามารถให้บริการ รับชมรายการโทรทัศน์ผ่านมือถือหรือดาวน์โหลดตัวอย่างภาพยนตร์มาชมบนโทรศัพท์มือถือได้แล้ว สาเหตุที่ญี่ปุ่นก้าวกระโดดไปสู่ยุค 4G  อย่างรวดเร็ว คือ ดิจิตอลคอนเทนต์หรือการบริการด้านเนื้อหาในรูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเสียงเรียกเข้า (ริงโทน) ภาพหน้าจอ(วอลเปเปอร์)เสียงรอสายรวมถึงข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ซึ่งเป็นตัวผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปสู่ยุค 4G

4G (Forth Generation) เมื่อผู้ให้บริการหลายรูปแบบที่จะเกิดขึ้นในอนาคต  โดยจำเป็นต้องอาศัยเครือข่ายที่มีความเร็วสูง สามารถรับส่งข้อมูลได้ในปริมาณมาก ดังนั้น  การผลักดันตัวเองให้เข้าสู่ยุค 4G ที่ใช้เทคโนโลยีที่เหนือกว่า  3G ก่อนคู่แข่ง  น่าจะเป็นการตัดสินใจที่ถูกต้องที่สุด   บริษัทที่มีการผลักดันให้เกิดยุค 4G คือบริษัท NTT Docomo ยักษ์ใหญ่แห่งวงการโทรศัพท์เคลื่อนที่ของญี่ปุ่น

สรุปคำนิยามมีดังนี้ 1G = Analog 2G = Digital 2.5G = GPRS 3G = Digital Multimedia 4G = Hybrid Network

เอกสารอ้างอิง 4G (online). Available: http://www.itbusinessedge.com/ [2007, September 6]. 4G (online). Available: http:// www.4g-systems.biz/en/index.php [2007, October 24]. 4G(online). Available: http://www.internet.org [2007, October 31].