Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
Advertisements

เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
หลักการบันทึกข้อความ
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
หลักเกณฑ์ วิธีการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การเขียนผลงานวิชาการ
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546
การเขียนผังงาน.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
ซึ่งจะช่วยให้ผู้ศึกษาค้นคว้า/ผู้นำคู่มือไปใช้
เทคนิคการเขียน คู่มือการปฏิบัติงานหลัก
Thesis รุ่น 1.
การเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน
โครงสร้างของการเขียนรายงานการวิจัย
การประชุมสัมมนา “ผลิตผลงานวิชาการอย่างไร ให้ผ่านแบบม้วนเดียวจบ”
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
Management Information Systems
เป็นการย้ายข้าราชการไปแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่ต่ำกว่าเดิม
วิธีการเขียนรายงานของปัญหาพิเศษ
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การติดตาม และประเมินโครงการ.
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
แนวปฏิบัติ การขอกำหนดตำแหน่งให้สูงขึ้น ของบุคลากรสายปฏิบัติการ
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
คำนิยามและขั้นตอนการเสนอหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
เทคนิคการเขียน คู่มือการปฏิบัติงาน จากงานประจำ
การขอตำแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การเขียนรายงาน.
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
สารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศ
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
แนวปฏิบัติและวิธีการ ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์
ว่าที่ร้อยตรีสมศักดิ์ พรหมดำ นักวิชาการฝึกอาชีพ 7 ว กลุ่มงานพัฒนาระบบบริหาร กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ; Bs.ME, Be,ME, Ms.ME การจัดทำคู่มือปฏิบัติงาน (Work Manual)
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การประเมินบุคคลและผลงานเพื่อแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งนายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรม สาขา )
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คู่มือปฏิบัติงาน

ส่าระสำคัญในคู่มือปฏิบัติงาน บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 โครงสร้าง และ หน้าที่ความรับผิดชอบ บทที่ 3 กฎ ระเบียบ คำสั่ง ประกาศ ข้อบังคับ มติ เกณฑ์มาตรฐาน วิธีการวิเคราะห์ บทที่ 4 กรณีตัวอย่างศึกษา บทที่ 5 ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก

บทที่ 1 บทนำ ความเป็นมาและความสำคัญของคู่มือ วัตถุประสงค์ บทที่ 1 บทนำ ความเป็นมาและความสำคัญของคู่มือ วัตถุประสงค์ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ขอบเขตของคู่มือ คำจำกัดความเบื้องต้น ข้อตกลงเบื้องต้น

1.1 ความเป็นมาและ ความสำคัญของคู่มือ ผู้เขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ต้องเขียนถึงความเป็นมาและความสำคัญของคู่มือการปฏิบัติงาน(เล่มที่ตนกำลังเขียนอยู่นี้) โดยเขียนถึงความเป็นมาของงานที่ได้ปฏิบัติอยู่ มีความสำคัญอย่างไร มีความจำเป็นอย่างไรที่ต้องมีคู่มือการปฏิบัติงาน งานนี้เป็นงานหลัก หรืองานรองของหน่วยงาน หรือ ของตำแหน่งที่ปฏิบัติ

1.2 วัตถุประสงค์ของคู่มือ ผู้เขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ต้องเขียนอธิบายชี้แจงให้ผู้ศึกษา/ผู้ใช้คู่มือฯ ทราบถึงวัตถุประสงค์ในการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานนี้ เช่น... การทำคู่มือการปฏิบัติงานนี้ทำขึ้นมาเพื่อให้มั่นใจว่าได้มีการปฏิบัติตามกฎ ตามระเบียบ ตามข้อบังคับ ตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่กำหนดไว้อย่างสม่ำเสมอ มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับนโยบาย และวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน/ของผู้ปฏิบัติงาน/ของผู้รับบริการ

1.3ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ผู้เขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ต้องเขียนอธิบายชี้แจงให้ผู้ศึกษา/ผู้ใช้คู่มือฯ ได้ประโยชน์ในการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานนี้อย่างไร เช่น...

1.4 ขอบเขตหรือข้อจำกัด ผู้เขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ต้องเขียนอธิบายชี้แจงให้ผู้ศึกษา/ผู้ใช้คู่มือฯ คำนึงถึงขอบเขตหรือข้อจำกัดของคู่มือการปฏิบัติงานนี้ ว่ามีความคลอบคลุม กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หนังสือเวียน มติ หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข ตลอดจน ผู้รับผิดชอบ ผู้เกี่ยวข้องเป็นใคร เป็นหน่วยงานใด มีมาตั้งแต่เมื่อใด ถึงเมื่อใด ขั้นตอนไหนถึงไหน เป็นต้น

1.5 คำจำกัดความเบื้องต้น ผู้เขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ต้องเขียนอธิบายชี้แจงให้ผู้ศึกษา/ผู้ใช้คู่มือฯ ทราบถึงคำจำกัดความต่างๆ ที่มีอยู่ในคู่มือการปฏิบัติงานนี้ คำศัพท์เฉพาะที่มีในคู่มืออาจเป็นภาษาไทย หรือ ภาษาต่างประเทศ หรือ คำย่อ ก็ได้ เช่น...

1.6 ข้อตกลงเบื้องต้น(ถ้ามี) ผู้เขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ต้องเขียนอธิบายชี้แจงให้ผู้ศึกษา/ผู้ใช้คู่มือฯ ทราบถึงข้อตกลงเบื้องต้น ที่มีอยู่ในคู่มือการปฏิบัติงานนี้

บทที่ 2 โครงสร้าง และ หน้าที่ความรับผิดชอบ บทที่ 2 โครงสร้าง และ หน้าที่ความรับผิดชอบ โครงสร้างหน่วยงาน - โครงสร้างการบริหาร - โครงสร้างอัตรากำลัง บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

2.1 โครงสร้างของหน่วยงาน ผู้เขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ต้องเขียนอธิบายชี้แจงให้ผู้ศึกษา/ผู้ใช้คู่มือฯ ทราบถึงโครงสร้างของหน่วยงาน ที่มีอยู่ในคู่มือการปฏิบัติงานนี้ โดยเขียนแยกเป็นโครงสร้างการบริหารของหน่วยงาน และโครงสร้างอัตรากำลังของหน่วยงาน เช่น...

2.2 บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ ผู้เขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ต้องเขียนอธิบายชี้แจงให้ผู้ศึกษา/ผู้ใช้คู่มือฯ ทราบถึงบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ ที่มีอยู่ในคู่มือการปฏิบัติงานนี้ โดยเขียนแยกเป็นหน้าที่ของหน่วยงาน และหน้าที่ความรับผิดชอบของตำแหน่งนั้นๆ(ที่ขอกำหนดตำแหน่ง) เช่น...

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ผู้เขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ต้องเขียนอธิบายชี้แจงให้ผู้ศึกษา/ผู้ใช้คู่มือฯ ทราบถึงขั้นตอนของการปฏิบัติงานในแต่ละกิจกรรม ของตำแหน่งงานในคู่มือการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงานเป็นการอธิบายถึงขั้นตอน การทำงานอย่างละเอียดว่า... ทำอะไร? ทำที่ไหน? อย่างไร? เมื่อไร?

ซึ่งจะช่วยให้ผู้ศึกษาค้นคว้า/ผู้นำคู่มือไปใช้ มองเห็นภาพความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและงาน โดยเขียนออกมาในรูป Flow chart ทำให้เกิดความ เข้าใจง่าย มีการสื่อความหมายที่ดี โดยไม่ลงลึกใน รายละเอียด การเขียน Flow chart เริ่มต้นด้วยการนำ กิจกรรมต่างๆที่จะเกิดขึ้น มาใส่ลงในกรอบรูปทรง เรขาคณิตตามประเภทของกิจกรรมนั้นๆ และนำมา เขียนต่อกันตามลำดับขั้นตอน แล้วเชื่อมด้วยลูกศร

สัญลักษณ์ในการเขียน Flow chart จุดเริ่มต้น และสิ้นสุดของกระบวนการ กิจกรรมและการปฏิบัติงาน การตัดสินใจ การตรวจสอบ การอนุมัติ แสดงทิศทาง หรือการเคลื่อนไหวของงาน จุดเชื่อมต่อจากหน้าหนึ่งไปยังหน้าต่อไป

ตัวอย่างการเขียน Flow chart หน่วยงานขอใช้อัตรา กจ.วิเคราะห์จัดทำ JD อนุกรรมการบริหารพนักงาน คณะกรรมการบริหารอัตรา พิจารณา

สภามหาวิทยาลัย พิจารณา สภามหาวิทยาลัย พิจารณา กจ.สรรหาและบรรจุแต่งตั้ง กจ. พิจาณาตรวจ สอบ งานบริหารงานบุคคล งานทะเบียนประวัติ

บทที่ 3 กฎ ระเบียบ คำสั่ง ประกาศ ข้อบังคับ มติ เกณฑ์มาตรฐาน วิธีการวิเคราะห์ กฎ ระเบียบ คำสั่ง ประกาศ ข้อบังคับ มติ หนังสือเวียนที่เกี่ยวข้อง เกณฑ์มาตรฐาน การเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการคำนวณ/วิธีการวิเคราะห์ ข้อมูล

กฎ ระเบียบ คำสั่ง ประกาศ ข้อบังคับ มติ เกณฑ์มาตรฐาน ผู้เขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ต้องเขียนอธิบายชี้แจงให้ผู้ศึกษา/ผู้ใช้คู่มือฯ ทราบถึง กฎ ระเบียบ คำสั่ง ข้อบังคับ มติ เกณฑ์มาตรฐาน ตลอดจนวิธีการในการวิเคราะห์ ที่มีอยู่ในคู่มือการปฏิบัติงานนี้ เช่น...

บทที่ 4 กรณีตัวอย่างศึกษา* บทที่ 4 กรณีตัวอย่างศึกษา* กรณีศึกษา 1 ........ กรณีศึกษา 2 ........ กรณีศึกษา 3 ........ กรณีศึกษา 4 ........ * การยกตัวอย่างให้ยกให้เห็น 2 ด้าน คือกรณีที่ “ถูก”หรือ”ทำได้” และ กรณีที่ “ผิด” หรือ “ทำไม่ได้”

เอกสาร : คู่มือการตรวจ สอบรายงานไปราชการ การเขียนตัวอย่าง ในบทที่ 4 เอกสาร : คู่มือการตรวจ สอบรายงานไปราชการ

ตัวอย่างที่ 1 นาย ก.เป็นข้าราชการระดับ 5 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอเบิกค่าพาหนะในการเดินทางไปราชการในเขตกรุงเทพ มหานครโดยรถรับจ้าง(รถแท็กซี่)ระหว่างวันที่อยู่ในกรุงเทพ โดยให้เหตุผลว่า ไม่รู้จักเส้นทาง ถ้าเดินทางด้วยรถประจำทางจะทำให้เสียเวลานายก. สามารถเบิกได้หรือไม่ การตรวจสอบรายงาน พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ.2526 กำหนดหลักเกณฑ์ไว้ ดังนี้...

มาตรา 22 วรรค 4 ได้กำหนดให้ข้าราชการซึ่งดำรงตำแหน่งต่ำกว่าระดับ 6 ลงมา ใช้สิทธิเบิกค่าพาหนะรับจ้างได้ ถ้าการเดินทางนั้นต้องนำสัมภาระในการเดินทาง หรือสิ่งของเครื่องใช้ของทางราชการไปด้วยซึ่งเป็นเหตุไม่สะดวกที่จะเดินทางโดยรถประจำทาง ดังนั้น... นาย ก. เป็นข้าราชการระดับ 5 ไม่สามารถเบิกค่าแท็กซี่ระหว่างวันที่ไปราชการอยู่ในกรุงเทพฯ เนื่อง จากไม่มีสัมภาระระหรือสิ่งของเครื่องใช้ระหว่างวันในการเดินทางในกรุงเทพฯ เนื่องจากขัดกับ มาตรา 22 วรรค 4 แห่ง พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ.2526 ดังกล่าวข้างต้น

ตัวอย่างที่ 2 ปัจจุบันมีรถประจำทางปรับอากาศ สายขอนแก่น-เชียงใหม่ นาย ข ตัวอย่างที่ 2 ปัจจุบันมีรถประจำทางปรับอากาศ สายขอนแก่น-เชียงใหม่ นาย ข. เป็นข้าราชการระดับ 6 ของมหาวิทยาลัย ขอนแก่น จะเดินทางไปราชการที่จังหวัดเชียงใหม่โดยทางรถไฟจากขอนแก่น-กรุงเทพฯ แล้วทางเดินทางต่อโดยรถไฟจากกรุงเทพฯ-เชียงใหม่ โดยไม่เดินทางสานตรงด้วยรถประจำทางปรับอากาศจากขอนแก่นถึงเชียงใหม่ได้หรือไม่ การตรวจสอบรายงาน พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ.2526 กำหนดหลักเกณฑ์ไว้ ดังนี้...

มาตรา 22 วรรคแรก กำหนดว่า “การเดินทางไปราชการโดยปกติให้ใช้ยานพาหนะประจำทาง และให้เบิกค่าพาหนะได้โดยประหยัด” กฎหมายมีเจตนาให้ผู้เดินทางเลือกลักษณะและวิธีการเดินทางที่มีผลให้เสียค่าพาหนะเดินทางให้น้อยที่สุด โดยไม่เป็นผลเสียกับทางราชการและงานที่ไปปฏิบัติ เช่น ในการเดินทางไปปฏิบัติราชการยังสถานที่ใดๆ หากสถานที่ดังกล่าวนั้น ผู้เดินทางสามารถที่จะเดินทางไปโดยยานพาหนะประจำทางได้หลายเส้นทาง ผู้เดินทางต้องเลือกเส้นทางที่สั้นและตรง ซึ่งประหยัดค่าพาหนะการเดินทาง

และเส้นทางดังกล่าวต้องสะดวดที่จะเดินทางไปถึงทันเวลาปฏิบัติราชการ กรณีนี้ นาย ข. เป็นข้าราชการ ระดับ 6 ของมหาวิทยาลัยขอนแก่นเดินทางไปราชการที่จังหวัดเชียงใหม่ จึงไม่มีสิทธิเบิกค่าโดยสารรถไฟจากขอนแก่นไปกรุงเทพฯ และจากกรุงเทพฯ ถึงเชียงใหม่ แต่จะมีสิทธิเบิกค่ารถโดยสารประจำทางปรับอากาศสายขอนแก่น-เชียงใหม่ได้ เนื่องจากขัดกับ มาตรา 22 วรรคแรก แห่ง พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ.2526 ดังกล่าวข้างต้น

ตัวอย่างที่ 3 นางสาว ค. เป็นข้าราชการระดับ 6 ของมหาวิทยาลัย เชียงใหม่ เดินทางไปราชการในเขตกรุงเทพฯ ได้ว่าจ้างรถรับจ้าง(แท็กซี่)จากโรงแรมที่พักไปติดต่อราชการรวม 9 แห่ง ต่อหนึ่งวัน จะสามารถเบิกเงินค่ารถรับจ้าง(แท็กซี่)ตามพระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ.2526มาตรา 22ได้หรือไม่ การตรวจสอบรายงาน พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ.2526 มาตรา 22 วรรคหนึ่งและวรรค 2 กำหนดว่า...

“การเดินทางไปราชการโดยปกติให้ใช้ยานพาหนะประจำทาง และให้เบิกค่าพาหนะได้โดยประหยัด เว้นแต่ ในกรณีที่ไม่มีรถประจำทาง หรือมีแต่ต้องการความรวดเร็ว เพื่อประโยชน์แก่ราชการให้ใช้พาหนะอื่นได้” ในวรรค 2 (ตัวอักษรสีเหลือง) แม้กฎหมายจะเปิดช่อง ให้ใช้พาหนะอื่น(รถแท็กซี่)ได้ แต่ผู้เดินทางจะต้องชี้แจงเหตุผลและความจำเป็นไว้ในรายงานการเดินทางไปราชการ หรือหลักฐานการขอเบิกเงินค่าพาหนะนั้น(แท็กซี่)

กรณีดังกล่าว ได้มีการเดินทางจากโรงแรมที่พักใน กรุงเทพฯ ไปยังสถานที่ติดต่อราชการหลายแห่ง และสถานที่ติดต่อราชการแห่งสุดท้ายถึงโรงแรมที่พักในวันเดียวกันโดยรถรับจ้าง(แท็กซี่)โดยตลอด หากข้อเท็จจริงปรากฏว่ามีการไปติดต่อราชการตามสถานที่ดังกล่าวจริง และส่วนราชการพิจารณาเห็นว่าการ ใช้พาหนะรถรับจ้าง(แท็กซี่)ของข้าราชการซึ่งเดินทางไปติดต่อราชการแต่ละช่วงไม่มีรถประจำทาง หรือมีแต่มีเหตุ ผลความจำเป็นเพื่อประโยชน์ราชการ สมควรที่จะอนุมัติให้ เบิกค่าพาหนะ(แท็กซี่)ตามเส้นทางดังกล่าวได้

บทที่ 5 ปัญหาอุปสรรคและ ข้อเสนอแนะ บทที่ 5 ปัญหาอุปสรรคและ ข้อเสนอแนะ ปัญหาและอุปสรรคในการใช้คู่มือ แนวทางแก้ไขในการปฏิบัติงาน แนวทางพัฒนางานหรือปรุงงาน ข้อเสนอแนะ

ในบทนี้ผู้เขียนควรนำเสนอปัญหา อุปสรรค และ การใช้คู่มือการปฏิบัติงานเพื่อให้ผู้ศึกษาค้นคว้า/ผู้นำ คู่มือไปใช้ เล็งเห็นถึงปัญหา อุปสรรค การจัดทำ การ นำไปใช้ และการแก้ไขคู่มือการปฏิบัติงาน เพื่อจะได้ ดำเนินการใช้คู่มืออย่างมีประสิทธิภาพ จากประสบการณ์ของผู้เขียนที่ปฏิบัติงานใน ด้านนี้มาเป็นเวลานาน ผู้เขียนควรที่จะเสนอแนวทาง การแก้ไขปัญหา ตลอดจนแนวทางการพัฒนางาน หรือปรับปรุงงาน และข้อเสนอแนะ

คู่มือปฏิบัติงาน งานวิจัย บทที่ 1 บทนำ บทที่ 1 บทนำ บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 โครงสร้าง และ หน้าที่ ความรับผิดชอบ บทที่ 3 กฎ ระเบียบ คำสั่ง ประกาศ ข้อบังคับ มติ เกณฑ์มาตรฐาน วิธีการวิเคราะห์ บทที่ 4 กรณีตัวอย่างศึกษา บทที่ 5 ปัญหาอุปสรรคและ ข้อเสนอแนะ ภาคผนวก บรรณานุกรม บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 ทฤษฎี และงานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย บทที่ 4 ผลการศึกษา บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผล ภาคผนวก บรรณานุกรม

การเขียนบรรณานุกรม ประกอบการค้นคว้า ต้องเขียนหรือพิมพ์ตามแบบมาตรฐานที่ บรรณานุกรม หมายถึงรายชื่อสื่อสิ่งพิมพ์หรือเอกสารที่ใช้ ประกอบการค้นคว้า ต้องเขียนหรือพิมพ์ตามแบบมาตรฐานที่ กำหนด โดยแยกบรรณานุกรมสิ่งพิมพ์ภาษาไทย และบรรณา นุกรมสิ่งพิมพ์ภาษาต่างประเทศ และแต่ละภาษานั้นให้เรียง ตามลำดับอักษร แบบพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน และ พจนานุกรมภาษาอังกฤษทั่วไป การจัดทำบรรณานุกรม ให้ยึดแนวทางตามคู่มือการ จัดทำปริญญาวิทยานิพนธ์ ของแต่ละมหาวิทยาลัย

ตัวอย่าง ในการเขียนในบทที่ 4 กรณีตัวอย่างศึกษา

ตำแหน่งบุคากร ประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง มาตรฐานการกำหนด ระดับตำแหน่งและการแต่งตั้ง ขรก. ในสถาบันอุดมศึกษาให้สูงขึ้น คุณวุฒิและระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง 1) วุฒิปวช./เทียบเท่า ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 16 ปี 2) วุฒิปวส./เทียบเท่า ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 12 ปี 3) ป.ตรี/เทียบเท่า ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 9 ปี 4) ป.โท/เทียบเท่า ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปี 5) ป.เอก/เทียบเท่า ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 2 ปี

ตัวอย่างที่ 1 วิธีคำนวณ นาย ก. ตำแหน่ง น.การเงินฯ ระดับ 6 ปฏิบัติงานในตำแหน่งเป็นเวลา 5 ปี ต่อมาศึกษาต่อจนสำเร็จ ป.โทและปฏิบัติหน้าที่หลังมีวุฒิ ป.โท อีก 3 ปี นาย ก. มีคุณสมบัติเรื่องเวลาหรือไม่ ? วิธีคำนวณ ปวช. + ปวส. + ป.ตรี + ป.โท + ป.เอก = 1 16 12 9 5 2

ปวช. + ปวส. + ป.ตรี + ป.โท + ป.เอก = 1 16 12 9 5 2 ปวช. + ปวส. + ป.ตรี + ป.โท + ป.เอก = 1 16 12 9 5 2 แทนค่า (หน่วย:ปี) 0 + 0 + 5 + 3 + 0 = 1 16 12 9 5 2 5 0 + 0 + 0.56 + 0.60 + 0 = 1 5 1.16 1 ดังนั้น นาย ก. มีคุณสมบัติเวลา

ตัวอย่างที่ 2 วิธีคำนวณ นาย ข. ตำแหน่ง น.วิทยาศาสตร์ ระดับ 6 ปฏิบัติ งานในตำแหน่งเป็นเวลา 3 ปี ต่อมาศึกษาต่อจนสำเร็จ ป.โทและปฏิบัติหน้าที่หลังมีวุฒิ ป.โท อีก 3 ปี 2 เดือน นาย ข. มีคุณสมบัติเรื่องเวลาหรือไม่ ? วิธีคำนวณ ปวช. + ปวส. + ป.ตรี + ป.โท + ป.เอก = 1 16 12 9 5 2

ปวช. + ปวส. + ป.ตรี + ป.โท + ป.เอก = 1 16 12 9 5 2 ปวช. + ปวส. + ป.ตรี + ป.โท + ป.เอก = 1 16 12 9 5 2 แทนค่า (หน่วย:ปี) แทนค่า (หน่วย:เดือน) 0 + 0 + 3 + 38 + 0 = 1 16 12 9 60 2 5 0 + 0 + 0.33 + 0.63 + 0 = 1 5 0.96 1 นาย ข. ไม่มีคุณสมบัติเวลา

บทความทางวิชาการ

การเขียนบทความ ทางวิชาการ การเขียนบทความทางวิชาการให้ได้ดี คือ ต้องเป็น นักอ่านให้มากๆ ค้นคว้าให้มากๆ เพราะการอ่าน และการค้นคว้าจะทำช่วยให้เราได้ข้อมูลและได้ประสบการณ์ สามารถช่วยในการเขียนบทความทางวิชาการได้

เมื่อมีบทความทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่การงาน หรือวิชาชีพของเราแล้ว ขั้นต่อไปคือ การนำบทความที่เราเขียนนั้นไปตีพิมพ์เผยแพร่ ในวารสาร หรือ จุลสาร หนังสือพิมพ์ ฯลฯ ที่ออกโดยหน่วยงานของเรา หรือ ของมหาวิทยาลัย

ในบทความทางวิชาการที่เขียนนั้นหากอ้างอิงมาจากที่ใด หรือ บุคคลใด จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องอ้างถึง เนื่องจากเป็นจรรยาบรรณของการเขียน และ จะทำให้บทความที่เขียนนั้นดูมีน้ำหนักมากยิ่งขึ้น

โดยปกติแล้ว บทความที่นำมา เสนอควรเป็นบทความที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่การงาน หรือวิชาชีพที่ ปฏิบัติ บทความทางวิชาการที่เขียนขึ้นเพื่อเป็นความรู้ทั่วๆไปสำหรับประ ชาชน อาจใช้ได้บ้างหากมีคุณค่าทางวิชาเพียงพอ

แหล่งตีพิมพ์บทความ ทางวิชาการ ۞นสพ.กรุงเทพธุรกิจรายวัน kteditor@nationgroup.com ۞นสพ.มติชน info@matichon.co.th ۞นสพ. สยามรัฐ siamrath@siamrath.co.th ۞นสพ. เดลินิวส์ veepan@dailynews.co.th

۞นสพ. ผู้จัดการรายวัน webmaster@manager.co.th ۞นสพ. แนวหน้า naewna@naewna.com ۞นสพ. ไทยรัฐ webmaster@thairath.co.th ۞นิตยสาร หญิงไทย Webmaster@aksornsobhon.co.th ۞นิตยสาร สกุลไทย Webmaster@aksornsobhon.co.th ฯลฯ

สิ่งประดิษฐ์ หรืองานสร้างสรรค์

สิ่งประดิษฐ์ หรือ งานสร้างสรรค์ การคิดค้นหรือสร้างสิ่งประดิษฐ์ หรืองานสร้างสรรค์ที่มีคุณค่า ควรเป็นงานที่มีประโยชน์และมีคุณค่า ต่อการปฏิบัติงาน สามารถลดขั้น ตอนการปฏิบัติ ลดเวลาหรือ ลดจำนวนบุคลากรที่ปฏิบัติงาน

สิ่งประดิษฐ์ หรืองานสร้าง สรรค์นี้อาจเป็น สิ่งของ หรือ ชิ้นงานที่จับต้องได้ เช่น การออกแบบแบบฟอร์มให้ผู้มารับบริการ หรือ อาจเป็นการเขียนโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์

หรือ อาจเป็นผลงานในด้านศิลปะ ผลงานต่างๆ ดังกล่าว อาจบันทึกเป็นภาพยนตร์ หรือ เป็นแถบเสียง ลงในแผ่น VCD หรือ DVD ก็ได้

การวิเคราะห์งาน หรือ ระบบงาน

การวิเคราะห์งาน หรือระบบงาน การที่เรานำข้อมูลจากผลการปฏิบัติงานที่เป็นงานประจำของเรา มาวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อนำไปสู่การสร้างระบบงานขึ้นมาใหม่ หรือ วิเคราะห์เพื่อ แก้ปัญหา

ระบบงานที่สร้างขึ้นมาใหม่นั้น ได้มีการนำไปใช้ในการพัฒนางาน และปรับปรุงคุณภาพของงานเดิม ได้อย่างไร ?

การวิเคราะห์เพื่อสร้างระบบงานขึ้นมาใหม่ หรือ วิเคราะห์เพื่อหาสาเหตุของปัญหาและแก้ปัญหานี้ ... เป็นการศึกษาวิเคราะห์ เป็นลักษณะรูปแบบของการวิจัยหรือกึ่งการวิจัย เป็นการศึกษาอย่างเป็นระบบถูกต้องตามหลักวิชาการ

เอกสารคำสอน เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือ ตำรา

เอกสารประกอบการสอน เอกสาร หรือ อุปกรณ์ที่ใช้ เอกสาร หรือ อุปกรณ์ที่ใช้ ประกอบการสอนวิชาใดวิชาหนึ่ง ตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัย ซึ่ง ประกอบด้วย แผนการสอน หัวข้อ คำบรรยาย(ซึ่งมีรายละเอียดประ กอบพอสมควร)

เอกสารคำสอน เอกสาร หรือ อุปกรณ์ที่ใช้ ประกอบการสอนวิชาใดวิชาหนึ่ง ตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัย มีเนื้อหาสาระคำสอนที่มีความ สมบูรณ์กว่าเอกสารประกอบการ สอน จะพิมพ์หรือโรเนียวก็ได้ แต่ ต้องทำเป็นรูปเล่ม

หนังสือ หรือ ตำรา เอกสารทางวิชาการ หรือกึ่ง หนังสือ หรือ ตำรา เอกสารทางวิชาการ หรือกึ่ง วิชาการ ที่ได้เรียบเรียงอย่างมี ระบบ เข้าปกเย็บเล่มเรียบร้อย มี สารบัญ แบ่งหมวดหมู่ของเนื้อหา อย่างชัดเจน และ มีการเผยแพร่

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ประวัติวิทยากร