ภาพรวมงานวิจัยหน่วยงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
Advertisements

โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามกุฎราชกุมาร นางลาวัลย์ ฉัตรวิรุฬห์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร.
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
ปฏิญญาหาดใหญ่ (Hatyai Declaration)
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
สายวิชาการ 58 คน ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2553 จำนวนคน.
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
โครงการพัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิตเกษตรกรสมาชิก
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
สรุป ศูนย์สารสนเทศ แผนงาน/โครงการ
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
ภาควิชาพืชไร่ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็น มหาวิทยาลัยชั้นนำ ในระดับภูมิภาคเอเชีย ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และ ทำนุบำรุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเป็นฐาน วิสัยทัศน์
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ส่วนฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
สภาพทั่วไป ด้านปฏิรูปการให้บริการ / สนับสนุน (Management Reform) ที่โครงการวัตถุประสงค์ เป้าหม าย 1212 ฝึกอบรมการเพิ่ม ผลผลิต มันฯ, ข้าว, โค, บริหาร วิสาหกิจฯ.
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2554
การสนับสนุน ทุนอุดหนุนวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
Dr. Panu Sittiwong Uttaradit Rajabhat University
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ทิศทางการปฏิรูปองค์กร
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
งานวิจัยแบบสหสาขาวิชาการ
ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร (ศวพก)
น.ส.ผาณิตดา แสนไชย รหัสนักศึกษา
รายงานกรฝึกงาน สัตวศาสตร์ 3
ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง ปี 2550 กรมส่งเสริมการเกษตร
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
โครงการ ฝึกอาชีพการเกษตรเฉพาะด้าน ปี 51
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
คณะเกษตรศาสตร์ มช. ทำไมต้องหลอมรวม??? พิทยา สรวมศิริ 6 มิถุนายน 2546.
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
งานวิจัยภาควิชาพืชไร่
สถานีวิจัยและศูนย์ฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะ
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เลขาธิการ ส.ป.ก. 1,995
งานวิเทศสัมพันธ์ ผศ.ดร.นิศากร ประคองชาติ
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
วิสัยทัศน์ เป็นเลิศด้าน วิชาการ รับใช้ สังคม 50 ของเอเชีย เป้าหมาย ร่วมพัฒนาพื้นที่และประเทศอย่างยั่งยืน จัดการศึกษา มีคุณภาพ ยุทธศาสตร์ พัฒนางานวิจัย.
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ชุดโครงการวิจัย ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการปลูกยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี (Decision Support System for Rubber Plantation.
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การวิจัย และองค์ความรู้จากโครงการหลวง
การดำเนินงาน เพื่อดูแลคุณภาพ ชีวิตเกษตรกร โดย นางสาวมยุรี บุญญาเสนีย์กุล นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 5 สำนักพัฒนาเกษตรกร กรม ส่งเสริมการเกษตร.
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาพรวมงานวิจัยหน่วยงาน ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ http://web.agri.cmu.ac.th/highland

ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง เกิดจากการหลอมรวมของ 3 หน่วยงาน ภายในคณะฯ สถานีวิจัยและศูนย์ฝึกอบรมเกษตรที่สูง (พ.ศ. 2516 - 2544) ศูนย์วิจัยและพัฒนากาแฟบนที่สูง (พ.ศ. 2526 - 2544) แผนงานการฝึกอบรมและพัฒนาวิชาการเกษตรที่สูง (พ.ศ. 2526 - 2544)

บุคลากร ผู้บริหาร 4 อัตรา อาจารย์ 0 อัตรา นักวิชาการเกษตร 5 อัตรา ผู้บริหาร 4 อัตรา อาจารย์ 0 อัตรา นักวิชาการเกษตร 5 อัตรา พนักงานมหาวิทยาลัย 3 อัตรา ลูกจ้างประจำ 31 อัตรา ลูกจ้างชั่วคราว 19 อัตรา ลูกจ้างโครงการวิจัย 2 อัตรา บุคลากรที่ทำงานวิจัยโดยตรง 7 คน (หัวหน้าหรือผู้ร่วมโครงการ)

ภาพรวมงานวิจัย ปี 2546-2548 ลักษณะโครงการ จำนวนโครงการ งบประมาณ 2546   2546 2547 2548 ชุดโครงการ 1 702,800 443,800 449,800 โครงการเดี่ยว 4 3 5 128,000 550,000 ร่วมกับหน่วยงานอื่น รวม 6 7 830,800 571,800 999,800

แผนงานวิจัยในปี 2549 ลักษณะโครงการ จำนวนโครงการ งบประมาณ ชุดโครงการ 1 966,200 โครงการเดี่ยว 7 1,445,330 โครงการบูรณาการ 1,144,900 ร่วมกับหน่วยงานอื่น 2   รวม 3,556,430

1. ชุดโครงการที่เสนอของบประมาณปี พ.ศ. 2549 แผนงานวิจัยในปี 2549 1. ชุดโครงการที่เสนอของบประมาณปี พ.ศ. 2549 การเพิ่มศักยภาพในการใช้ทรัพยากรบนพื้นที่สูงเพื่อการเกษตรพอเพียงและยั่งยืน 1.1 การใช้ถั่วไมยราบไร้หนามในการฟื้นฟูและเพิ่มความอุดมสมบูรณ์กับดินที่เสื่อมสภาพบนพื้นที่สูงโดยชุมชนแบบมีส่วนร่วม 1.2 การจัดการที่หลากหลายภายใต้ทรงพุ่มสวนลิ้นจี่บนพื้นที่สูงเพื่อการเกษตรพอเพียงและยั่งยืน 1.3 การป้องกันกำจัดครั่งบนต้นลิ้นจี่แบบผสมผสาน 1.4 วิธีการการสำรองต้นกาแฟอาราบีก้าเพื่อปลูกทดแทนต้นที่ตายในแปลงปลูก 1.5 ความหลากหลายของพืชในระบบการผลิตกาแฟอาราบิก้าเป็นพืชหลัก

2. โครงการเดี่ยว 3. โครงการบูรณาการ 2.1 ความหลากหลายของระบบเกษตรและการสร้างมูลค่าเพิ่มจากความหลากหลายของพืชดั้งเดิมบน พื้นที่สูง 2.2 การจัดการทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพของพืชในระบบการทำไร่หมุนเวียนบนพื้นที่สูงเพื่อสร้างความมั่นคงของระบบการผลิตอาหารและการอนุรักษ์ทรัพยากรพืชพันธุ์พื้นเมืองในระดับท้องถิ่น 2.3 การจัดการส่วนเหลือจากการผลิตกาแฟอราบิก้าในภาคเหนือของประเทศไทย 3. โครงการบูรณาการ พัฒนากระบวนการผลิต การแปรรูป และสร้างมูลค่าเพิ่มของกาแฟอาราบิก้า

4. ความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นในการพัฒนาโครงการวิจัย แผนงานวิจัยในปี 2549 4. ความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นในการพัฒนาโครงการวิจัย ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงในการพัฒนาเรื่องชา เพื่อให้เป็นพืชเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย ร่วมมือกับ สวทช. ในการพัฒนาโครงการกัญชงเพื่อพัฒนาเป็นพืชเศรษฐกิจสำหรับบนพื้นที่สูง

การนำเสนอผลงานทางวิชาการและตีพิมพ์โดยบุคคลากรของศูนย์ 2546 2547 2548 ระดับชาติ 4 3 - ระดับนานาชาติ 1 3 -

ความได้เปรียบและศักยภาพของศูนย์ในการทำวิจัยในอนาคต ไม่มีการเรียนการสอน ทำให้มีความคล่องตัวในการทำงานวิจัยและบริการวิชาการแก่ชุมชน ทรัพยากรที่มีความพร้อมสำหรับการทำวิจัย - ทรัพยากรบุคคล นักวิชาการ คนงานที่มีทักษะพร้อมในการทำวิจัย - พื้นที่ มีสถานีวิจัย 4 แห่งที่มีสภาพภูมิอากาศที่แตกต่างกัน - การประสานงานอย่างใกล้ชิดกับชุมชนบนพื้นที่สูง - ยานพาหนะที่มีสมรรถนะในการเดินทางเพื่อเก็บข้อมูลและทำวิจัย

ขอขอบคุณครับ