งานและระบบบริหารโครงการวิจัยของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อรรถชัย จินตะเวช ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๔๘
ประเด็น ภาพรวมของระบบบริหารโครงการวิจัย (คน งบประมาณ พัสดุ) ภาพรวมของผู้ได้รับประโยชน์จากงานวิจัย จะช่วยกันทำงานวิจัยอย่างไร
ภาพรวมของระบบบริหารโครงการวิจัย
บุคลากรในวงการวิจัยมีเท่าใด? คณาจารย์ (107) นักวิชาการเกษตร (43) ผู้ช่วยวิจัย น.ศ.ช่วยวิจัย ธุรการ การเงิน พัสดุ บัญชี การตรวจสอบ
บุคลากรในวงการวิจัยมีเท่าใด?
งบประมาณวิจัยที่ได้รับมีเท่าใด? 2547 รวม 195 โครงการ งบประมาณ 83.9 ล้านบาท 2548 รวม 150 โครงการ งบประมาณ 69.9 ล้านบาท 50 40 30 20 10 ... ... ... ทุนวิจัยจากแหล่งอื่น ทุนวิจัยภาคเอกชน ทุนวิจัยมหาวิทยาลัย ทุนวิจัยแหล่งต่างประเทศ ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดิน เงินรายได้คณะฯ/ภาควิชา แหล่งข้อมูล: AgMIS
หน่วยบริหารจัดการโครงการวิจัยมีกี่หน่วย? หน่วยย่อย การเงิน-พัสดุ-บัญชี บุคลากร ธุรการ งานวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง (รศ. ดร. บัณฑูรย์) แม่เหยีะ (ผอ. นิวัต อิ่มอ่อง) ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไย หริภูญชัย (ผศ. ดร. สุรินทร์) ภาควิชา 8 ภาควิชา สำนักงานเกษตรที่สูง CMUPN Lab (ศ.ดร. เบญจพรรณ) ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพ (ผศ.ดร.พิทยา) ศูนย์เรียนรู้ชุมชน (อ.วราภา) ศูนย์ตลาดล่วงหน้า (ดร. กมล) ศูนย์เครือข่ายวิจัยฯ (รศ. เพทาย) ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร สถาบันวิทย์/เทคโน สถานวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว โครงการบ้านไร่ โครงการหลวง ICRAF (CGIAR) UPLANDS (Germany) ATRACT (JICA) EU
โครงการวิจัยบริหารจัดการที่หน่วยใด? 250 195=83.9 หน่วยต่าง ๆ 200 150=69.91 150 งานวิจัยฯ 1 หน. งาน (วิไลพร) 1 พนง. ม.ช. (ลลิตตา) 1 ลูกจ้างประจำ (ทวี) 1 ลูกจ้างชั่วคราว (นพวรรณ) 2 การเงินงบประมาณ (วราคณาง) 2 การเงินรายได้ (สายฝน หน่อย) 1 คอมพิวเตอร์ (มานพ) 100 50 31=14.31 23=8.24 2547 2548 แหล่งข้อมูล: AgMIS & งานวิจัยและวิเทศสัมพันธ์
เงินบำรุงสถาบันมีอะไรบ้าง? แบ่งอย่างไร? ประเภท พิเศษ ก และ พิเศษ ข (สกว.) เป็นเงินรายได้ในปี 2547 Overhead (แหล่งอื่น) เป็นเงินรายได้ กองทุนวิจัย : คณะฯ : ภาควิชา 30% : 40% : 30%
รายรับ-จ่ายของเงินบำรุงสถาบันมีมากน้อย? ล้านบาท 2.5 รายรับสะสม 640,530.51 2.0 625,248.00 383,821.45 รายจ่ายสะสม 1.5 754,861.92 557,761.00 1.0 705,680.00 0.5 331,204.89 314,040.00 0.00 2545 2546 2547 2548
เงินบำรุงสถาบันมีอะไรบ้าง? แบ่งอย่างไร? จ่ายอะไร? 2545 รายรับ รายจ่าย Overhead 135,143.40 เงินพิเศษ ก (คณะฯ) 196,061.49 เงินเดือน/ค่าจ้าง งานวิจัยฯ 214,040.00 หมวดอุดหนุนงานวิจัย 100,000.00 331,204.89 314,040.00
เงินบำรุงสถาบันมีอะไรบ้าง? แบ่งอย่างไร? จ่ายอะไร? 2546 รายรับ รายจ่าย Overhead 362,050.60 เงินพิเศษ ก (คณะฯ) 392,811.32 358,720.00 เงินเดือน/ค่าจ้าง งานวิจัยฯ 246,960.00 หมวดอุดหนุนงานวิจัย 100,000.00 754,861.92 705,680.00
เงินบำรุงสถาบันมีอะไรบ้าง? แบ่งอย่างไร? จ่ายอะไร? 2547 รายรับ รายจ่าย Overhead 303,420.20 เงินพิเศษ ก (คณะฯ) 80,410.25 เงินเดือน/ค่าจ้าง งานวิจัยฯ 257,761.00 หมวดอุดหนุนงานวิจัย 300,000.00 383,821.45 557,761.00
เงินบำรุงสถาบันมีอะไรบ้าง? แบ่งอย่างไร? จ่ายอะไร? 2548 รายรับ รายจ่าย Overhead 355,643.76 เงินพิเศษ ก (คณะฯ) 284,886.75 เงินเดือน/ค่าจ้าง งานวิจัยฯ 325,248.00 หมวดอุดหนุนงานวิจัย 300,000.00 640,530.51 625,248.00
อุปกรณ์ ครุภัณฑ์วิจัย? Lab กลาง >> รองสุชน
ภาพรวมของผู้ได้รับประโยชน์จากงานวิจัย
ภาพรวมของผู้ได้รับประโยชน์จากงานวิจัย ภายใต้นามของคณะเกษตรศาสตร์ โดยตรง คณาจารย์ บุคลากรของเรา แหล่งทุน โดยอ้อม นักศึกษา เกษตรกร อุตสาหกรรมเกษตร
จะช่วยกันทำงานวิจัยอย่างไรภายใต้การเปลี่ยนแปลงที่มีอย่างต่อเนื่อง
จะช่วยกันทำงานวิจัย ภายใต้นามของคณะเกษตรศาสตร์ เพื่อการเรียนการสอน ต่อนักศึกษา เพื่อประโยชน์ต่อเกษตรกร เพื่อประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมเกษตร เอกชน ทั้งในและต่างประเทศ เพื่อสนองนโยบายภาครัฐ เพื่อความก้าวหน้าด้านองค์ความรู้ในสาขาวิชา เพื่อตำแหน่งทางวิชาการ
จะช่วยกันทำงานวิจัย ภายใต้นามของคณะเกษตรศาสตร์ เพราะมีความอยากรู้ อยากเห็นตามหลักของวิทยาศาสตร์เกษตรที่ได้รับรู้และร่ำเรียนมา เพราะอยากมีส่วนร่วมในการสร้างสรรวงการเกษตรของบ้านเราให้ยั่งยืน แต่เริ่มยากมากขึ้น โดยเฉพาะในวงการเกษตร ทำให้เราต้องร่วมมือกันและทำงานอย่างเป็นระบบมากกว่าเดิม จะโยงถึง TOR ของคณะฯ และบุคลากรอย่างไร
นโยบายของรัฐแถลงต่อรัฐสภา วันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๔๘ ๘. การรักษาความมั่งคงของรัฐ สถาบันพระมหากัษตริย์ | ป้องกันประเทศ | ความมั่นคงของรัฐ ๖. การพัฒนากฏหมาย ปรับปรุงกฏหมาย ปปท. กระบวนการยุติธรรม ธรรมาภิบาลในเอกชน+สังคม ระบบราชการ ๗. ส่งเสริม ปชต. + กระบวนการประชาสังคม ปชต. แบบมีส่วนร่วมใหเข้มแข็ง สิทธิมนุษยชนในเป็นสากล กระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น ระดับประเทศ ที่ดิน น้ำ/สาธารณูปโภค ราคาผลผลิต บริหารจัดการตลาด แปรรูป ระดับชุมชน บริหารจัดการองค์ความรู้-ภูมิปัญญา การตัดสินใจโดยท้องถิ่น ระดับบุคคล เข้าถึงการเรียนรู้-ทุน เศรษฐกิจพอเพียง ความยากจน โดยการปรับโครงสร้าง ภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม ท่องเที่ยว-บริการ-การค้า การเงิน/คลัง วิท-เทคโน-วิจัย-นวัตกรรม Logistics โครงสร้างพื้นฐาน รัฐวิสาหกิจ ความสามารถในการดำเนินยุทธศาสตร์ของชาติ โครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุล+แข่งขันได้ การต่างประเทศ นโยบายเชิงรุก ความสัมพันธ์นานาชาติ บทบาทไทยในเวทีโลก-พหุภาคี เศรษฐกิจระหว่างประเทศ ทูตเพื่อประชาขน สังคมการเรียนรู้ อนุรักษ์-พัฒนาภูมิปัญญา สุขภาวะ มั่งคงของชีวิต-สังคม ผู้สูงอายุ กทม. พัฒนาคน-สังคม การเตือนภัยด้านต่าง ๆ ธรรมชาติ เศรษฐกิจ การคลัง คน สัตว์ โรคแมลง ฯลฯ การรองรับการเปลี่ยนแปลงและพลวัตของโลก สร้างสมดุลของการใช้ประโยชน์ การฟื้นฟูดินและความเหมาะสมในการใช้สภาพพื้นที่ จัดการน้ำอย่างเป็นระบบ การจัดการร่วมกับเอกชนและชุมชน ความหลากหลายทางชีวภาพ การควบคุมมลพิษ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
นโยบายการเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ม.ช. เป็นแหล่งรวมผู้รู้ องค์ความรู้ นักศึกษา ระบบงานที่ดี งบประมาณมิใช่การแบ่งเงินให้แก่ศูนย์วิจัยและโครงการวิจัย แต่เป็นเครื่องมือและตัวขับเคลื่อนหนึ่งให้ทิศทางการวิจัยบรรลุเป้าหมาย มีประโยชน์ต่อการเรียนการสอน และการสร้างองค์ความรู้ ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ ระบบ GFMIS และ 3D ระบบ AgMIS และ TOR&JA
แหล่งข้อมูล: เยาวลักษณ์ วิริยะพงศ์ ผอ. กองแผนงาน, ม.ช. (ไม่มีวันที่)
แหล่งข้อมูล: เยาวลักษณ์ วิริยะพงศ์ ผอ. กองแผนงาน, ม.ช. (ไม่มีวันที่)
แหล่งข้อมูล: เยาวลักษณ์ วิริยะพงศ์ ผอ. กองแผนงาน, ม.ช. (ไม่มีวันที่)
แหล่งข้อมูล: เยาวลักษณ์ วิริยะพงศ์ ผอ. กองแผนงาน, ม.ช. (ไม่มีวันที่)
แหล่งข้อมูล: เยาวลักษณ์ วิริยะพงศ์ ผอ. กองแผนงาน, ม.ช. (ไม่มีวันที่)
นโยบายการเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยของ ม.ช. ภายใต้นามของคณะเกษตรศาสตร์ เราเห็นว่าจะมีส่วนอย่างไร เท่าใด? บุคลากรส่วนอื่นของ ม.ช. จะเห็นว่าเราเป็นส่วนหนึ่งอย่างไร เท่าใด? นักศึกษาของเราจะเรียนรู้อะไร? เกษตรกรและระบบเกษตรภาคเหนือ ของไทย ของนานาชาติจะทราบว่าเรามีบทบาทอะไร?
สรุป มีจุดให้บริหารโครงการวิจัย หลากหลาย มีงานวิจัยต่อเนื่อง มีผู้ได้รับประโยชน์จากงานวิจัย หลากหลาย (คณาจารย์ แหล่งทุน ผู้ช่วยวิจัย นักศึกษา เกษตรกร)
สรุป: ขอความร่วมมือ ในการกรอกข้อมูลลงในระบบ MIS และ TOR&JA ส่งเอกสารโครงการหรือสัญญาโครงการไปยังงานวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ หรือ หน่วยที่ช่วยบริหารจัดการโครงการ
สรุป ขอวิงวอนและขอความร่วมมือช่วยกันสร้าง (ตกลง) ระบบบริหารงานวิจัย (วัฒนธรรมสาธารณะของวงการวิจัยเกษตร) ให้ก่อเกิดการสะสมองค์ความรู้ ให้เป็นตัวอย่างที่ดี มี ผลประโยชน์ตกสู่บุคคลเป้าหมาย (เกษตรกร คณาจารย์ นักศึกษา แหล่งทุน)
จบแล้วครับ สนุก สุขดี ภูมิใจและยินดีที่ได้ร่วมงานกัน ขอบคุณ Chicken Soup for the Teacher's Soul: Stories to Open the Hearts and Rekindle the Spirit of Educators by Jack Canfield