MRCF system กับการพัฒนาการผลิตแตงโมหาดสำราญ ปี 2557

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีใหม่.
Advertisements

การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
ประเด็นการตรวจติดตาม
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
สภาพทั่วไป ด้านปฏิรูปการให้บริการ / สนับสนุน (Management Reform) ที่โครงการวัตถุประสงค์ เป้าหม าย 1212 ฝึกอบรมการเพิ่ม ผลผลิต มันฯ, ข้าว, โค, บริหาร วิสาหกิจฯ.
ตำบลบ้านเหล่า อำเภอเจริญศิลป์
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
สภาพทางเศรษฐกิจ ใน ยุโรป.
การสำรวจข้อมูลรายได้เกษตรกรที่ยากจน ในชุมชนยากจนปี 2549
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหาร จัดการศูนย์บริการฯ  คัดเลือกคณะกรรมการบริหารศูนย์บริการฯ  คัดเลือกที่ทำการศูนย์บริการฯ  แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบของ คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลช้างทูน อำเภอบ่อ ไร่ จังหวัดตราด.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
จังหวัดจันทบุรี นายมณเฑียร สุขผลรหัสนิสิต คณะสาธารณสุขศาสตร์
ลาว วิรันดา สุนทรภักดี คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
การพัฒนาศักยภาพการผลิตลำไยคุณภาพภาคเหนือ ปี
แบ่งออกเป็น 3หมวด คือ 1. ข้อมูลหมวด ก. เป็นข้อมูลส่วนบุคคลของ เกษตรกร ประกอบด้วย ข้อ 1. ลักษณะการประกอบการเกษตร ข้อ 2. สมาชิกในครัวเรือนที่ร่วมกิจกรรม.
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ปัจจัยที่ประสบความสำเร็จ
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
การจัดทำฐานข้อมูลการผลิตและการตลาดของสมาชิก
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
ตำบลคำไฮใหญ่ อำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี
สภาพทั่วไป ที่ตั้ง  ตำบลพันดอนตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอกุมภวาปี พื้นที่เขตตำบลห่างจากอำเภอประมาณ 6 กิโลเมตรและห่างจากศาลากลางจังหวัดอุดรธานีประมาณ.
การใช้ประโยชน์ที่ดินด้านการเกษตรกรรม จังหวัดปทุมธานี
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
MRCF การเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง โดยการไถระเบิดดินดาน
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
โดย 2.น.ส.ญานิดา พูนสวัสดิ์ ม.6/5 เลขที่ 33
เทคนิคการวิเคราะห์พื้นที่ และเทคโนโลยีการผลิตพืช
การใช้ MRCF เพื่อพัฒนาศูนย์ข้าวชุมชน ตำบลบางกะไห นางสาวยุวดี ฮวดวิเศษ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการ.
ทิศเหนือติดต่อกับ ตำบลพิตเพียน อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทิศใต้ติดต่อกับตำบลเจ้าปลุก อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทิศตะวันออกติดต่อกับอำเภอดอนพุด.
กรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าว รอบที่ 1 ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใต้ที่ปลูกเหมือนภาคอื่นๆ.
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
การเขียนรายงานผล การดำเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ (MRCF)
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลดอนดึง อำเภอ บ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายสุ กัญญา หนุนบุญ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

MRCF system กับการพัฒนาการผลิตแตงโมหาดสำราญ ปี 2557 โดย สำนักงานเกษตรอำเภอหาดสำราญ หมู่ที่ 9 ตำบลหาดสำราญ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง รหัสไปรษณีย์ 92120 โทรศัพท์ 0-7520-8785 E-mail: trg_hatsamran@doae.go.th http://hatsamran.trang.doae.go.th/

สถานการณ์การผลิตแตงโมอำเภอหาดสำราญ ข้อมูลทั่วไปอำเภอหาดสำราญ อ.หาดสำราญอยู่ทางทิศใต้ของจังหวัดตรัง สภาพทั่วไป เป็นภูเขาสูงทางด้านทิศตะวันออก และพื้นราบ จนถึงที่ราบลุ่ม จนไปถึงชายฝั่งทะเลอันดามัน มีชายหาดจำนวน 18 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 224 ตร.กม. (140,000 ไร่) แบ่งเขตการปกครอง เป็น 3 ตำบล ได้แก่ หาดสำราญ บ้าหวี และ ตะเสะ มีประชากร 16,140 คน 4,095 ครัวเรือน ครัวเรือนเกษตรกร 3,595 ครัวเรือน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ ทำสวนยางพารา ปาล์มน้ำมัน ผลไม้ พืชผัก เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ และ ประมงชายฝั่ง

ข้อมูลทั่วไปของแตงโม แตงโม (อังกฤษ: watermelon; ชื่อวิทยาศาสตร์: Citrullus lanatus) จัดเป็นผลไม้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เรียก บักโม ภาคเหนือเรียก บะเต้า จังหวัดตรัง เรียก แตงจีน ถิ่นกำเนิดอยู่ในทะเลทรายคาลาฮารี ทวีปแอฟริกา ชาวอียิปต์เป็นชาติแรกที่ปลูกแตงโมเมื่อสี่พันปีมาแล้ว ชาวจีนเริ่มปลูกแตงโมที่ซินเกียง สมัยราชวงศ์ถัง และชาวมัวร์ ได้นำแตงโมไปสู่ทวีปยุโรป และเข้าสู่ทวีปอเมริกาพร้อมกับชาวแอฟริกาที่ถูกขายเป็นทาส สำหรับประเทศไทยมีการปลูกแตงโมทั่วทุกภูมิภาค และปลูกได้ทุกฤดูกาล

ประวัติความเป็นมาการปลูกแตงโมของอำเภอหาดสำราญ การปลูกแตงโมในพื้นที่อำเภอหาดสำราญมีการปลูกมายาวนาน แต่ไม่มีข้อมูลที่ชัดเจน มีแต่การบอกเล่าต่อกันมาว่ามีการปลูกต่อเนื่องกันมาหลายทศวรรษ โดยมีการถ่ายทอดภูมิปัญญา จากรุ่นสู่รุ่น โดยอดีตการปลูกแตงโมจะปลูกปลายฤดูฝน ช่วงเดือนพฤศจิกายน ซึ่งจะปลูกบนที่ดอนริมชายหาด ซึ่งดินยังมีความชื่นอยู่ และอาศัยน้ำฝน และอีกส่วนหนึ่งจะปลูกในพื้นที่นาข้าว เมื่อมีการเก็บเกี่ยวข้าวเสร็จในช่วงเดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ จะปลูกในแปลงนาในที่ลุ่ม และใช้แหล่งน้ำจากขุดบ่อน้ำตื้นสี่เหลี่ยมขนาดเล็กในแปลงนา ซึ่งในรอบปีจะมีการปลูกเพียงรอบเดียวเท่านั้น ในปัจจุบันเกษตรกรในอำเภอหาดสำราญได้ปรับเปลี่ยนพื้นที่ทางการเกษตรเป็นสวนยางพารา ปาล์มน้ำมัน ทำให้มีการปลูกแตงโมตลอดทั้งปี โดยปลูกแซมในสวนยางพาราและปาล์มน้ำมันที่มีอายุน้อย และได้พัฒนาเป็นการปลูกในเชิงการค้ามากยิ่งขึ้น นำเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาใช้ในการปลูกแตงโม ทำให้มีผลผลิตจำหน่ายทั้งปี แต่อย่างไรก็ตามพื้นที่ปลูกแตงโมก็ลดลง เพราะถูกทดแทนโดยพื้นที่ปลูกยางพารา และปาล์มน้ำมันซึ่งเป็นไม้ยืนต้น ทำให้พื้นที่ที่สามารถปลูกแตงโมได้น้อยลง

ตาราง แสดงข้อมูลการปลูกแตงโมอำเภอหาดสำราญ ปี 55 - 57 ตำบล ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 เกษตรกร พท.ปลูก (ไร่) ผลผลิต(ตัน) ราคา มูลค่า พท.ปลูก (ไร่) พท.ปลูก (ไร่) (ราย) (บาท/กก.) (บาท) หาดสำราญ 45 169 419.1 11 4.61 50 104 258 11.5 2.96 32 143 355 12 4.25 ตะเสะ 28 91 225.7 2.48 290 719 8.27 5 30 74 0.89 บ้าหวี 73 260 644.8 22 7.09 78 394 977 11.23 37 173 429 5.14 รวม 146 520 1,289.60 44 14.18 156 788 1954 34.5 22.46 346 858 36 10.28

M: Mapping การศึกษาข้อมูลเพื่อเตรียมเข้าทำงานในพื้นที่โดยเน้นการใช้ข้อมูลแผนที่ จัดทำฐานข้อมูลผู้ปลูกแตงโมอำเภอหาดสำราญ ลงในแผนที่ เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนการจัดการส่งเสริมในพื้นที่ เช่น การรวมกลุ่มจัดหาแหล่งน้ำ การวางแผนด้านการตลาด การจัดตั้งกลุ่มผู้ผลิตแตงโม ฯลฯ

องค์ความรู้แตงโม ในเว็บไซด์ สำนักงานเกษตรอำเภอหาดสำราญ R : Remote Sensing การประสานงาน และให้บริการเกษตรกรด้วยวิธีการติดต่อสื่อสารและเข้าถึงข้อมูลระยะไกล การสื่อสาร โทรศัพท์/เอกสารรายงาน การสื่อสาร โทรศัพท์/เอกสารรายงาน อกม./ผู้นำเกษตรกร องค์ความรู้แตงโม ในเว็บไซด์ สำนักงานเกษตรอำเภอหาดสำราญ เกษตรกร/กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตแตงโม สำนักงานเกษตรอำเภอหาดสำราญ R C และ F การสื่อสาร โทรศัพท์/เอกสารราย งาน สำนักงานเกษตรจังหวัดตรัง

C : Community Participation ใช้วิธีการจัดเวทีชุมชนในการทำงานและร่วมดำเนินงานกับเกษตรกร ชุมชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องแบบมีส่วนร่วม เวทีชุมชนแบบมีส่วนร่วม แผนพัฒนา/แก้ไขปัญหาแตงโม อำเภอหาดสำราญ เกษตรกรผู้ผลิตแตงโมหาดสำราญ ข้อมูลสารสนเทศแตงโมหาดสำราญ บูรณาการสร้างความมีส่วนร่วม ทบทวนผลดำเนิน การ ประมวลผลความสำเร็จ ตัวชี้วัดความสำเร็จเป้าหมายที่ต้องการ ตามที่ระบุไว้โครงการ/กิจกรรม โครงการ/กิจกรรม เพื่อพิจารณาแก้ไขปัญหาแตงโมหาดสำราญ

F : Specific Field Service การเข้าทำงานในพื้นที่แบบเฉพาะเจาะจง โดยมีเป้าหมายและจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน Mapping กระบวนการ/ผลการวิเคราะห์ข้อมูล/สถานการณ์ของแตงโมหาดสำราญ ข้อมูลสารสนเทศแตงโมหาดสำราญ แผนปฏิบัติงานในประเด็นการพัฒนาแต่ละประเด็น ประเด็นการพัฒนา/แก้ไขปัญหาแตงโม Remote Sensing การนำไปสู่การปฏิบัติตามแผนโดยอาศัยกระบวนการมีส่วนร่วม Community Participation แตงโมหาดสำราญได้รับการพัฒนา/แก้ปัญหา

จบการ นำเสนอ ขอบคุณครับ