ศาสตราจารย์ ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ 6 มกราคม 2555 โรงแรมเอบีน่าเฮ้าส์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายงานสถานการณ์การผลิตข้าว
Advertisements

อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
การศึกษารูปแบบการจัดการฟางข้าวฯ รหัสโครงการวิจัย
ดิน(Soil).
สรุปผลการศึกษาผลตอบแทนการปลูกยางพาราในรอบปี 2555
ระบบสารสนเทศแผนงานบำรุงทาง
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
การประชุม Mahidol Eco University (การบริหารจัดการขยะ) ครั้งที่ 7
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
สรุปใส่ปุ๋ย 100 กก.พืชกินปุ๋ยได้แค่ 30 กก.
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
รองศาสตราจารย์ ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
ผู้สอน: อ.วิจิตต์ วรรณชิต
การใช้มันสำปะหลังเป็นแหล่งพลังงานในสูตรอาหารสุกร
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
สภาพทั่วไป ด้านปฏิรูปการให้บริการ / สนับสนุน (Management Reform) ที่โครงการวัตถุประสงค์ เป้าหม าย 1212 ฝึกอบรมการเพิ่ม ผลผลิต มันฯ, ข้าว, โค, บริหาร วิสาหกิจฯ.
การแจกแจงปกติ.
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
การจัดการองค์ความรู้ (KM) การทำนาข้าวโดยไม่เผาตอซัง
************************************************
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
การจัดการองค์ความรู้ เรื่องการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และการป้องกันกำจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน สถานที่ดำเนินการ บ้านวังบง หมู่ที่ 10 ตำบลนาด้วง อำเภอนาด้วง.
การป้องกันไฟไหม้สวนยางในฤดูแล้ง
พี่น้องปุ๋ยหมักโบกาชิ
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
และความเป็นกรด-ด่างของดิน
ศาสตราจารย์ ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ 6 มกราคม 2555 โรงแรมเอบีน่าเฮ้าส์
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
น้ำสกัดชีวภาพ BIOEXTRACT สารสารพัดประโยชน์ ครูไพฑูรย์ ศิริรักษ์
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
เรื่อง : โรคของดินที่ควรเฝ้าระวัง
หลักการเลือกซื้ออาหาร
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
อาหารปลอดภัยด้านประมง
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศาสตราจารย์ ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ 6 มกราคม 2555 โรงแรมเอบีน่าเฮ้าส์ รู้จักปุ๋ย……. ชนิด ความสำคัญ การคำนวณปุ๋ย ศาสตราจารย์ ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ 6 มกราคม 2555 โรงแรมเอบีน่าเฮ้าส์

วัสดุที่ให้ธาตุอาหารพืช หรือ สิ่งมีชีวิตที่ก่อให้เกิดธาตุอาหารพืช “ปุ๋ย” วัสดุที่ให้ธาตุอาหารพืช หรือ สิ่งมีชีวิตที่ก่อให้เกิดธาตุอาหารพืช ปุ๋ยเคมี – สารประกอบอนินทรีย์เคมี ที่มีประโยชน์ต่อพืช ปุ๋ยอินทรีย์ – สารประกอบที่ได้จาก สิ่งมีชีวิต (พืช สัตว์ จุลินทรีย์) ปุ๋ยชีวภาพ – ปุ๋ยจุลินทรีย์ เป็นจุลินทรีย์ ที่มีประโยชน์และยังมีชีวิตอยู่

ความสำคัญของปุ๋ย เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตออกไปปุ๋ยเดิมในดินสูญหายไป ชดเชยโดยการใส่ปุ๋ย ต้องเพิ่มผลผลิตต่อไร่ให้สูงขึ้น ทันกับพื้นที่เพาะปลูกที่ลดลง และการเพิ่มขึ้นของประชากร

ปริมาณ เอ็น-พี-เค และซิลิก้าในข้าว น้ำหนัก เอ็น พี เค ซิลิก้า ข้าวเปลือก 1,000 12 3 36 ฟาง ราก 1,300 8 1 21 130 รวม 2,300 20 4 23 166 (กก.) (กก.) (กก.) (กก.) (กก.) K. Kyuma (Feb 25, 2007)

ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด

ปุ๋ยอินทรีย์ ใช้อย่างเดียว ต้องใช้ในปริมาณมาก มีธาตุอาหารพืชน้อย ใช้อย่างเดียว ต้องใช้ในปริมาณมาก ปริมาณมีจำกัด หายาก เปลืองค่าขนส่ง ธาตุอาหารพืชส่วนใหญ่อยู่ในรูปของ สารประกอบอินทรีย์ เมื่อใส่ลงไปในดิน พืชไม่สามารถดูด ไปใช้ประโยชน์ได้ทันที ต้องให้จุลินทรีย์ในดินย่อยสลาย มาอยู่ในรูปเดียวกับปุ๋ยเคมีก่อน พืชจึงดูดไปใช้ประโยชน์ได้

ปริมาณเอ็น-พี-เคในปุ๋ยอินทรีย์ เอ็น (%) พี (%) เค (%) ปอเทือง 1.98 0.30 2.41 ต้นข้าวโพด 0.71 0.11 1.38 ฟางข้าว 0.59 0.08 1.72 รำข้าว 1.22 0.91 1.09 มูลวัว 1.10 0.40 1.60 มูลไก่ 2.42 6.29 2.11 มูลค้างคาว 1.54 14.28 0.60 ปุ๋ยหมัก 1.5 0.4 1.0 กากเศษปลา 10.0 6.0 0.6 กากน้ำมันพืช 8.0 2.0

การใช้ปุ๋ยเคมีมีต้นทุนต่ำ คำนวณปริมาณธาตุอาหารพืชได้แม่นยำ หามาใช้ได้ง่ายอย่างเพียงพอ ปุ๋ยอินทรีย์มีธาตุอาหารพืชอยู่น้อย และแปรปรวน

ถ้าต้องใส่ปุ๋ยไนโตรเจน 8 กก ถ้าต้องใส่ปุ๋ยไนโตรเจน 8 กก.ต่อไร่ พื้นที่ 10,000 ไร่ ถ้าใช้ยูเรีย จะต้องใช้ 17 กก ต่อไร่ พื้นที่ 10,000 ไร่ ต้องใช้ =170 ตัน ยูเรียตันละ 14,200 บาท = 2.4 ล้านบาท ถ้าใช้ปุ๋ยอินทรีย์ที่มีไนโตรเจน 2 % ต้องใช้ปุ๋ยอินทรีย์ 400 กก. ต่อไร่ พื้นที่ 10,000 ไร่ต้องใช้ 4,000 ตัน ปุ๋ยอินทรีย์ตันละ 5,000 บาท = 20 ล้านบาท การใช้ปุ๋ยเคมีถูกกว่าปุ๋ยอินทรีย์

การใช้อินทรียวัตถุทดแทน ปุ๋ยโพแทสเซียม ถ้าต้องใส่ปุ๋ยเค = 5 กก. K2O/ไร่ ใช้ปุ๋ย 0-0-60 = 8 กก. /ไร่ ถ้าใส่มูลวัว = 500 กก. /ไร่ ฟางข้าว = 300 กก. /ไร่ ปุ๋ยพืชสด = 200 กก./ไร่

เพิ่มไนโตรเจน 12-15 กก./ไร่ ปุ๋ยพืชสด พืชตระกูลถั่ว 1 ไร่ น้ำหนักแห้ง 500 กก./ไร่ เพิ่มไนโตรเจน 12-15 กก./ไร่

ปอเทือง

ไมยราบ

ถั่วฮามาต้า

ถั่วเหลือง

ถั่วเขียว

การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ที่ถูกต้อง นำเอาวัสดุธรรมชาติ เช่นเศษพืช ซากสัตว์ มูลสัตว์ต่างๆที่มีอยู่มาไถกลบลงไปในดิน โดยไม่จำเป็นต้องผ่านกระบวนการแปรรูปให้ต้นทุนเพิ่มขึ้น ปลูกพืชตระกูลถั่วสลับกับพืชหลัก

ปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยจุลินทรีย์ที่ยังมีชีวิตอยู่ สังเคราะห์สารประกอบธาตุอาหารพืช เปลี่ยนธาตุอาหารพืชให้เป็นประโยชน์

ปุ๋ยเคมีแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม (แม่ปุ๋ยและปุ๋ยผสม) แม่ปุ๋ย ปุ๋ยไนโตรเจน - ยูเรีย (46-0-0) - แอมโมเนียมซัลเฟต (21-0-0) ปุ๋ยฟอสฟอรัส - ไดแอมโมเนียมฟอสเฟต (18-46-0) - ทริบเปิ้ลซุปเปอร์ฟอสเฟต (0-46-0) ปุ๋ยโพแทสเซียม - โพแทสเซียมคลอไรด์ (0-0-60)

ปุ๋ยผสม แม่ปุ๋ยตั้งแต่ 2 ชนิดมาผสมกัน เพื่อให้ได้ปริมาณและ สัดส่วนของ เอ็น พี เค ตามที่ต้องการ 15-15-15 16-8-8 14-4-9 เป็นต้น เม็ด ผง ของเหลว ปุ๋ยผสมปั้นเม็ด ปุ๋ยผสมคลุกเคล้า ปุ๋ย

“ปุ๋ยผสมปั้นเม็ด” “ปุ๋ยผสมคลุกเคล้า” แม่ปุ๋ย “เอ็น” แม่ปุ๋ย “พี” 46-0-0 18-46-0 0-0-60 แม่ปุ๋ย “เอ็น” แม่ปุ๋ย “พี” แม่ปุ๋ย “เค” ปุ๋ย 15-15-15 15-15-15 “ปุ๋ยผสมปั้นเม็ด” “ปุ๋ยผสมคลุกเคล้า”

สูตรปุ๋ย ตัวเลขแสดงปริมาณ เอ็น พี เค มีหน่วยเป็นเปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก เรียงกันตามลำดับโดยไม่มีการสลับที่กัน เช่น ปุ๋ยสูตร 15-5-25 หมายความว่า ปุ๋ยหนัก 100 กก. มีธาตุอาหารเอ็น พี เค อย่างละ 15 5 และ 25 กก. ตามลำดับ มีเนื้อธาตุอาหาร 45 กก.ในปุ๋ย 100 กก.

เรโชปุ๋ย หมายถึงสัดส่วนอย่างต่ำของปริมาณธาตุอาหาร เอ็น พี เค ที่มีอยู่ในปุ๋ยนั้นๆ ปุ๋ยสูตร 16-8-8 มี เรโช 2:1:1 มีธาตุอาหารเอ็น พี เค รวม 32 กก.ในปุ๋ย 100 กก. ปุ๋ยสูตร 20-10-10 มี เรโช 2:1:1 มีธาตุอาหารเอ็น พี เค รวม 40 กก.ในปุ๋ย 100 กก.

การรู้จักเรโชปุ๋ย มีประโยชน์ทำให้เกษตรกรเลือกใช้ปุ๋ยให้ตรงกับคำแนะนำปุ๋ยได้ เช่น คำแนะนำปุ๋ยให้ใช้ 16-8-8 จำนวน 50 กก./ไร่ ถ้ามีปุ๋ยสูตร 20-10-10 ก็ใช้แทนกันได้ โดยใช้เพียง 40 กก./ไร่ เป็นต้น

การพิจารณาซื้อปุ๋ย ตาม พ. ร. บ การพิจารณาซื้อปุ๋ย ตาม พ.ร.บ. ปุ๋ย 2518 (แก้ไขเพิ่มเติมปี 2550) ได้กำหนดให้ผู้ขายปุ๋ยเขียนข้อความที่เรียกว่าฉลากปุ๋ย 1. ปุ๋ยเคมี 2. เครื่องหมายการค้า 3. น้ำหนักสุทธิของปุ๋ย 4. ปริมาณธาตุอาหารรับรอง 5. ผู้ผลิตและผู้แทนจำหน่าย 6. สถานที่ผลิตที่ชัดเจน

16-20-0 ตราต้นไม้ ปุ๋ยเคมี น้ำหนักสุทธิ 50 กิโลกรัม ปริมาณธาตุอาหารรับรอง ไนโตรเจนทั้งหมด (N) 16% ฟอสเฟตที่เป็นประโยชน์ (P2O5) 20% โพแทสเซียมที่ละลายน้ำ (K2O) 0% บริษัท เอบีซี จำกัด 50/1 ถนนอยุธยา แขวงดุสิต กรุงเทพมหานคร โทร 02-123-5678 สถานที่ผลิต 39 หมู่ 2 ถนนสายเอเชีย อ.นครหลวง จ.นครปฐม ผู้แทนจำหน่าย บริษัท ซีอีเอฟ จำกัด 10/2 ถนนพหลโยธิน จตุจักร กรุงเทพ 10900 โทร 02-234-5678 ทะเบียนเลขที่ 12345/2550 (กรมวิชาการเกษตร) ทะเบียนเลขที่ 12345/2550 (กรมวิชาการเกษตร)

ใช้เสริมสูตร 15-15-15 ปุ๋ยอินทรีย์ ตราเศรษฐี น้ำหนักสุทธิ 50 กิโลกรัม ประกอบด้วยธาตุอาหารพืช ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) โพแทสเซียม (K) แคลเซียม (Ca) แมกนีเซียม (Mg) กำมะกัน (S) แมงกานีส (Mn) เหล็ก (Fe) โบรอน (B) ทองแดง (Cu) สังกะสี (Zn) โมลิบดีนัม (Mo) อินทรียวัตถุ (OM) ฮอร์โมน เอ็นไซม์ ออร์กานิกแมทเทอร์ ออร์กานิกคาร์บอน วิตามิน ผลิตโดย : บริษัทวายแซด สถานที่ผลิต : 123 หมู่ 2 ต.ค้ำจาน จ.ลพบุรี โทร : (036) 123-456 (036) 123-456

ปุ๋ยที่ไม่มีธาตุอาหารเลย ปุ๋ยปลอม ปุ๋ยที่ไม่มีธาตุอาหารเลย ปุ๋ยด้อยมาตรฐาน ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารไม่ตรงตามสูตร

กรมส่งเสริมสหกรณ์ ปุ๋ย 555 ตัวอย่างจากสหกรณ์ 222 แห่ง ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ที่ได้มาตรฐาน 43% และ 8% (นสพ.มติชน วันที่ 7 พ.ค. 2553)

การตรวจสอบทำโดย วิธีทางเคมี - ตรวจสอบอย่างละเอียด - ตรวจสอบแบบรวดเร็ว

ปุ๋ย 15-15-15 ราคากระสอบละ 1,010 บาท ปุ๋ย 16-8-8 ราคากระสอบละ 785 บาท ปุ๋ย 15-15-15 ราคากระสอบละ 1,010 บาท ปุ๋ย 16-8-8 ราคากระสอบละ 785 บาท ปุ๋ย 1 กระสอบ มีธาตุอาหาร 22.5 กก. ราคา = 1,010 บาท ธาตุอาหาร 1 กก. ราคา = 1,010 บาท 22.5 = 44.9 บาท ปุ๋ย 1 กระสอบ มีธาตุอาหาร 16 กก. ราคา = 785 บาท ธาตุอาหาร 1 กก. ราคา = 785 บาท 16 = 49.1 บาท

ปุ๋ย 46-0-0 ราคากระสอบละ 770 บาท ปุ๋ย 30-0-0 ราคากระสอบละ 600 บาท ปุ๋ย 46-0-0 ราคากระสอบละ 770 บาท ปุ๋ย 30-0-0 ราคากระสอบละ 600 บาท ปุ๋ย 1 กระสอบ มีธาตุอาหาร 23 กก. ราคา = 770 บาท ธาตุอาหาร 1 กก. ราคา = 770 บาท 23 = 33.5 บาท ปุ๋ย 1 กระสอบ มีธาตุอาหาร 15 กก. ราคา = 600 บาท ธาตุอาหาร 1 กก. ราคา = 600 บาท 15 = 40.0 บาท

ปุ๋ยอินทรีย์ (2-1-1) ราคากระสอบละ 350 บาท ปุ๋ย 1 กระสอบ มีธาตุอาหาร 2 กก. ราคา = 350 บาท ธาตุอาหาร 1 กก. ราคา = 350 บาท 2 = 175 บาท

ปุ๋ยเคมีทำให้ดินแข็งจริงหรือ? การเตรียมดินโดยใช้เครื่องจักร หรือวัวควาย การชะเอาหน้าดินหายไป ดินล่างโผล่ อินทรียวัตถุในดินลดลง

ความแข็งของดิน (มม.) สล.ข้าวสุรินทร์ สล.ข้าวราชบุรี สล.ข้าวสุรินทร์ สล.ข้าวราชบุรี ไม่ใส่ปุ๋ย 29.3 24.7 ปุ๋ยหมักฟางข้าว (2 ตัน/ไร่) 24.9 18.7 ปุ๋ยเคมี (8-4-4 กก./ไร่) 25.5 19.6 ปุ๋ยเคมี+ 21.8 13.2 ปุ๋ยหมักฟางข้าว การทดลองที่ สล. สุรินทร์ 12 ปี ที่ สล. ราชบุรี 11 ปี ที่มา: เอกสารทางวิชาการ กองปฐพีวิทยา 2543

ใส่ปุ๋ยเคมีไม่ถูกต้อง เกิดผลเสียอะไรบ้าง ? การใช้ปุ๋ยไนโตรเจนมากเกินไป พืชที่ปลูกจะอวบน้ำ อ่อนแอ เฝือใบ ล้มง่าย การระบาดของโรคและแมลงติดตามมา ปุ๋ยจะถูกชะล้างไปกับน้ำ ลงไปปนเปื้อนแหล่งน้ำใต้ดิน ไหลลงสู่แม่น้ำลำคลอง ใส่ปุ๋ยน้อยเกินไป พืชที่ปลูกจะแคระแกร็น ให้ผลผลิตต่ำ

ปุ๋ยเคมีเป็นสารพิษหรือเปล่า? ผลิตจากกระบวนการเคมี อาหารของพืช ผลิตจากกระบวนการเคมี ปริมาณธาตุอาหารสูง

ข้อดีข้อเสียของปุ๋ยอินทรีย์ ข้อดีของปุ๋ยอินทรีย์ ข้อเสียของปุ๋ยอินทรีย์ 1. ช่วยทำให้ดินโปร่ง ร่วนซุย 1. ปริมาณธาตุอาหารต่ำ 2. อยู่ในดินนาน 2. ใช้เวลานานกว่าจะเป็นประโยชน์ 3. ส่งเสริมปุ๋ยเคมีให้เป็นประโยชน์ 3. ราคาแพงต่อหน่วยธาตุอาหารพืช 4. ส่งเสริมสิ่งมีชีวิตในดิน 4. หายาก 5. มีจุลธาตุ

ข้อดีข้อเสียของปุ๋ยเคมี ข้อดีของปุ๋ยเคมี ข้อเสียของปุ๋ยเคมี 1. มีปริมาณธาตุอาหารสูงมาก 1. ปุ๋ยแอมโมเนียมทำให้ดินเป็นกรด 2. ราคาถูก 2. ไม่มีสมบัติปรับปรุงดิน 3. หาง่าย 3 . มีความเค็ม 4. ใช้ง่าย 4. การใช้ต้องการความรู้ 5. ให้ผลเร็ว

ความแตกต่างระหว่าง ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยเคมี - ทำให้ดินโปร่ง ร่วนซุย ระบายน้ำ และ ถ่ายเทอากาศได้ดี - ช่วยให้ปุ๋ยเคมีเป็นประโยชน์มากขึ้น ปุ๋ยเคมี - ให้ธาตุอาหารพืชในปริมาณสูงมาก - ราคาต่อหน่วยธาตุอาหารพืชถูกกว่า

การปรับปรุงบำรุงดิน ที่ถูกต้องใช้ทั้งปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกัน ปุ๋ยเคมีให้ธาตุอาหารเป็นหลัก ปุ๋ยอินทรีย์ พวกปุ๋ยหมักและปุ๋ยคอกปรับปรุงสภาพกายภาพ (ความโปร่ง ร่วนซุย การระบายน้ำ ถ่ายเทอากาศ)

วิธีการคำนวณปุ๋ย ตัวอย่าง คำแนะนำการใช้ปุ๋ยข้าว คือ 8-4-8กก.ต่อไร่ ปกติการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนควรแบ่งใส่ 2 ครั้ง คือพร้อมปลูกและแต่งหน้าก่อนพืชมีดอก ดังนั้นคำแนะนำปุ๋ยคือ (4+4)-4-8 กก.ต่อไร่ โดยใช้ “แม่ปุ๋ย” ที่มีจำหน่ายในท้องตลาด เช่น ปุ๋ย 18-46-0 ปุ๋ย 0-0-60 และปุ๋ย 46-0-0 เป็นต้น

วิธีการคำนวณปุ๋ย “ปุ๋ยสูตร” 18-46-0 หมายความว่า - ฟอสฟอรัส 46 กก. ได้มาจากปุ๋ย 18-46-0 น้ำหนัก 100 กก. ถ้าต้องการฟอสฟอรัส 4 กก.จะต้องใช้ปุ๋ย 18-46-0 น้ำหนัก 100 x 4 =8.7 กก. 46 ปุ๋ย 18-46-0 น้ำหนัก 100 กก. มีไนโตรเจน 18 กก. ปุ๋ย 18-46-0 น้ำหนัก 8.6 กก. มีไนโตรเจน 18 x 8.7 100 = 1.6 กก. ขาดไนโตรเจนอีก 4 - 1.6 = 2.4 กก. ในการใส่ปุ๋ยไนโตรเจนครั้งแรก

วิธีการคำนวณปุ๋ย - ไนโตรเจน 46 กก. ได้มาจากปุ๋ย 46-0-0 น้ำหนัก 100 กก. “แม่ปุ๋ย” 46-0-0 หมายความว่า - ไนโตรเจน 46 กก. ได้มาจากปุ๋ย 46-0-0 น้ำหนัก 100 กก. ถ้าต้องการไนโตรเจนเพิ่มอีก 2.4 กก. จะต้องใช้ปุ๋ย 46-0-0 น้ำหนัก 100 x 2.4 =5.2 กก. 46 “แม่ปุ๋ย” 0-0-60 หมายความว่า - โพแทสเซียม 60 กก. ได้จากปุ๋ย 0-0-60 น้ำหนัก 100 กก. - ถ้าต้องการโพแทสเซียม 8 กก. จะต้องใช้ปุ๋ย 0-0-60 น้ำหนัก 100 x 8 =13.3 กก. 60

วิธีการคำนวณปุ๋ย ต้องคำนวณว่า จะใส่ 46-0-0 เท่าใด ที่จะเพิ่มไนโตรเจนอีก 4 กก.ในการใส่ปุ๋ยครั้งที่ 2 ไนโตรเจน 46 กก.ได้จากปุ๋ย 46-0-0 น้ำหนัก 100 กก. - ถ้าต้องการไนโตรเจนเพิ่มอีก 4 กก. จะต้องใช้ปุ๋ย 46-0-0 น้ำหนัก 100 x 4 = 8.7 กก. 46

วิธีการคำนวณปุ๋ย สรุป ให้ผสมปุ๋ย 18-46-0 จำนวน 8.7 กก. ปุ๋ย 0-0-60 จำนวน 13.3 กก.และปุ๋ย 46-0-0 จำนวน 5.2 กก. สำหรับการใส่ปุ๋ยครั้งที่ 1 ซึ่งจะได้ เอ็น-พี-เค 4-4-8 กก.ต่อไร่ ตามลำดับ และใช้ปุ๋ย 46-0-0 จำนวน 8.7 กก.ต่อไร่ สำหรับการใส่ปุ๋ย ครั้งที่ 2 จะได้ธาตุอาหารตามคำแนะนำการใช้ปุ๋ยข้าว

ประโยชน์ของการใช้แม่ปุ๋ย ไม่ต้องแบกดินใส่ลงไปในไร่นา ได้ปุ๋ยที่มีคุณภาพ มีเนื้อธาตุอาหารเต็ม ราคาต่อหน่วยธาตุอาหารถูกกว่า ปุ๋ยบางสูตรมีไนเตรตผสมอยู่ เพิ่มขีดความสามารถของเกษตรกร

ข้อมูลเปรียบเทียบราคาปุ๋ยสูตร ราคาปุ๋ย (บาท/กระสอบ) และการผสมปุ๋ยใช้เอง ปุ๋ยสูตร ราคาปุ๋ย (บาท/กระสอบ) เอ็น พี เค ผสมปุ๋ยใช้เอง ราคาถูกกว่า 14 4 9 515 400 115 21 745 665 80 20 10 5 640 520 120 30 495 421 74 16 8 720 608 112 แม่ปุ๋ยเอ็น=28 บาท/กก. แม่ปุ๋ยพี=33 บาท/กก. แม่ปุ๋ยเค=31 บาท/กก.

ผสมปุ๋ยให้ได้สูตร 15-15-15 โดยใช้ 18-46-0, 46-0-0 และ 0-0-60 ผสมปุ๋ยให้ได้สูตร 15-15-15 โดยใช้ 18-46-0, 46-0-0 และ 0-0-60 ใช้ ปุ๋ย 18-46-0 = 32.6 กก. 46-0-0 = 20.0 กก. 0-0-60 = 25.0 กก. = 77.6 กก. ตัวเติม = 22.4 กก. 100.0 กก.

ผสมปุ๋ยให้ได้สูตร 10-10-5 โดยใช้ 18-46-0, 46-0-0 และ 0-0-60 ผสมปุ๋ยให้ได้สูตร 10-10-5 โดยใช้ 18-46-0, 46-0-0 และ 0-0-60 ใช้ ปุ๋ย 18-46-0 = 21.7 กก. 46-0-0 = 13.2 กก. 0-0-60 = 8.3 กก. = 43.2 กก. ตัวเติม = 56.8 กก. 100.0 กก.

ผสมปุ๋ยให้ได้สูตร 10-5-5 โดยใช้ 18-46-0, 46-0-0 และ 0-0-60 ผสมปุ๋ยให้ได้สูตร 10-5-5 โดยใช้ 18-46-0, 46-0-0 และ 0-0-60 ใช้ ปุ๋ย 18-46-0 = 10.8 กก. 46-0-0 = 17.4 กก. 0-0-60 = 8.3 กก. = 36.5 กก. ตัวเติม = 63.5 กก. 100.0 กก.