แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การพัฒนาศักยภาพ อสม. ปี 2554
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ระบบอันพึงประสงค์และการจัดบริการ อาชีวอนามัยในสถานีอนามัย
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
กรณีความเสี่ยง DMSc.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
เป้าหมาย สตรีอายุ ปี 240,279 ผลงาน 65,541 (27.28 %) ผิดปกติ/ ส่งต่อ
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
การสร้างและพัฒนา เครือข่ายองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น เพื่อผลักดัน นโยบายการป้องกัน ควบคุมโรคในพื้นที่ รับผิดชอบของ สำนักงาน ป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
การจัดบริการดูแลสุขภาพเชิงรุกแก่เกษตรกร
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข นัพวุฒิ ชื่นบาล กลุ่มพัฒนาวิชาการ สคร.ที่ 1 กรุงเทพฯ

แนวทางการดำเนินงาน ของ สสจ./สสอ. - สนับสนุนการจัดบริการดูแลสุขภาพของสถานบริการสาธารณสุขในพื้นที่ - สนับสนุนทรัพยากรในการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน มีส่วนร่วมดำเนินการจัดบริการดูแลสุขภาพเกษตรกรในชุมชน รวบรวมข้อมูลการดำเนินงานและรายงานสถานการณ์ความเสี่ยงในภาพรวมระดับจังหวัด

แนวทางการดำเนินงาน ของ รพ. จัดทำแผนสนับสนุนทรัพยากรและงบประมาณ แก่สถานบริการสาธารณสุขเครือข่ายเพื่อการจัดบริการ เชิงรุกแก่เกษตรกร สนับสนุนวิชาการในการแก้ไขปัญหาสุขภาพ ถ่ายทอดความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพ มีส่วนร่วมดำเนินการจัดบริการดูแลสุขภาพเชิงรุก

แนวทางการดำเนินงาน ของหน่วยบริการปฐมภูมิ คัดเลือกพื้นที่เป้าหมาย ประเมินสุขภาพทางกายด้วยแบบสอบถาม ผลปกติ พบความเสี่ยง ผลตรวจพบความเสี่ยง/ไม่ปลอดภัย เจาะเลือดเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง ให้คำแนะนำ&สมุนไพรล้างพิษ ส่งต่อเพื่อการรักษาถ้ามีอาการรุนแรง ผลปกติ

การใช้แบบประเมินความเสี่ยงและการรายงานข้อมูลสถานการณ์

นบก.1 แบบประเมินความเสี่ยงในการทำงานของเกษตรกรจากการสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืช เป็นเครื่องมือใช้การสำรวจข้อมูลความเสี่ยงในการทำงานในกลุ่มเกษตรกรโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มเพาะปลูก ได้แก่ ทำนา ทำสวน ทำไร่ วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินระดับความเสี่ยงฯ จากคำตอบของเกษตรกรผู้ใช้หรือสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืช เกี่ยวกับโอกาสที่จะได้รับเข้าสู่ร่างกายจากการทำงาน พฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงาน และพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพ

ผู้ใช้เครื่องมือ รพช./สอ./PCU เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ชุมชน อสม. อสอช.

องค์ประกอบของแบบประเมินความเสี่ยงฯ (นบก.1) ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป มีตัวแปรสำคัญได้แก่ อายุ เพศ อาชีพหลัก ที่อยู่ หน่วยงานที่จัดเก็บข้อมูล วัน เดือน ปี ที่ประเมิน หมายเลขบัตรประชาชน ส่วนที่ 2 ข้อมูลการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และการปฏิบัติตัวในขณะทำงาน ข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์หาความเสี่ยง และพฤติกรรมทางสุขภาพที่มีผลกระทบต่อสุขภาพในการทำงาน โดยนำคำตอบของข้อมูลความเสี่ยงแต่ละข้อที่ผู้ตอบแบบสอบถามมารวมกัน แล้วนำคะแนนที่ได้ไปเปรียบเทียบเป็นระดับความเสี่ยง ซึ่งได้แบ่งระดับความเสี่ยงเป็น 3 ระดับคือ

องค์ประกอบของนบก.1 (ต่อ) ระดับความเสี่ยงเล็กน้อย มีคะแนนรวม 14 - 20 คะแนน ระดับความเสี่ยงปานกลาง มีคะแนนรวม 21 - 28 คะแนน ระดับความเสี่ยงสูง มีคะแนนรวม 29 - 42 คะแนน ส่วนที่ 3 ข้อมูลความเจ็บป่วยหรืออาการผิดปกติที่เกิดขึ้น หลังการใช้หรือสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ส่วนที่ 4 สรุปผลการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพในการทำงานเบื้องต้น

องค์ประกอบของนบก.1 (ต่อ) ส่วนที่ 5 การเจาะเลือดตรวจคัดกรอง โดย มีการระบุเหตุผลในการตรวจคัดกรอง เช่น มีความเสี่ยงค่อนข้างสูง - มีความเสี่ยงสูงมาก มีความเสี่ยงสูง - ประสงค์รับบริการ ส่วนที่ 6 การปฏิบัติอื่นๆ ได้แก่ การให้ความรู้/คำแนะนำ สิ่งสนับสนุน

มาตรการและแนวทางในการจัดการปัญหา ตามระดับความเสี่ยง

มาตรการและแนวทางในการจัดการปัญหา ตามระดับความเสี่ยง

Village mapping Factory folder Hazard mapping Body mapping สำรวจหมู่บ้าน สำรวจโรงงาน สำรวจจุดงาน ตรวจวัดบุคคล Village mapping Factory folder Hazard mapping Body mapping

Village mapping Community mapping

ความเสี่ยงที่เกิดขึ้น ฐานข้อมูลที่จำเป็นเกี่ยวข้องกับอันตรายและปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพในfactory folder ลำดับ ขั้นตอน/กระบวนการ จำนวนคน ปัจจัยคุกคาม สุขภาพ ความเสี่ยงที่เกิดขึ้น แนวทางแก้ไข 1 2 3 4 5 6 7 Factory folder Factory A

Body mapping

คลินิกสุขภาพเกษตรกร แบบครบวงจร ใน รพ.สต. แผนการดำเนินงานในเกษตรกร ภายใต้นโยบายการขับเคลื่อนลดโรค เพิ่มสุข สาธารณสุขร่วมใจ เทิดไท้องค์ราชัน ตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นเพื่อประเมิน ความเสี่ยงโรคจากการประกอบอาชีพ คลินิกสุขภาพเกษตรกร แบบครบวงจร ใน รพ.สต. ลดการใช้สารเคมีในภาคเกษตร การป้องกันควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด เปิดตัวโครงการไปเมื่อวันที่ 16 ก.ค.55 ณ สปก. อ.ลาดบัวหลวง

ขอบคุณครับ