โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตพืชเศรษฐกิจ (สับปะรด)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาเครือข่ายสถาบันเกษตรกรผู้ปลูกกาแฟ Coffee Cooperative Networks
Advertisements

เกษตรกรรุ่นใหม่ และ Smart Farmer
ประเด็นการตรวจติดตาม
กรอบนโยบาย แผนงาน/โครงการที่จะดำเนินการ
ทะเบียนเกษตรกร กรมส่งเสริมการเกษตร.
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการระดับ เขต (RW) ครั้งที่ ๒ / ๒๕๕๖ และงานแสดงมุทิตาจิตผู้ เกษียณอายุราชการ ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ วันที่ ๒ - ๔ กันยายน ๒๕๕๖ ณ โรงแรมสตาร์
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
การถอดความรู้ เรื่องการผลิตสับปะรดโรงงาน
เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ คชก.
โครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ.
โครงการเร่งรัฐปฏิบัติการด่วน (เพื่อคนไทย) หรือโครงการปฏิบัติการประชาวิวัฒน์ ยุทธศาสตร์การสร้างระบบเศรษฐกิจที่เท่าเทียมและเป็นธรรม.
กิจกรรม กำหนดการดำเนินงาน ต. ค. ๒๕ ๕๒ พ. ย. ๒๕ ๕๒ ธ. ค. ๒๕ ๕๒ ม. ค. ๒๕ ๕๓ ก. พ. ๒๕ ๕๓ มี. ค. ๒๕ ๕๓ เม. ย. ๒๕ ๕๓ พ. ค. ๒๕ ๕๓ มิ. ย. ๒๕ ๕๓ ก. ค. ๒๕ ๕๓ ส.
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานระดับกลุ่มจังหวัดและระดับจังหวัด
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ผลการตรวจสอบที่พักและรีสอร์ท ในเขตปฏิรูปที่ดิน
ข้อมูล ณ วันที่ 16 ธันวาคม กิจกรรมจังหวัดที่ Key in แผนงาน ไม่ถูกต้องหรือยังไม่ Key in ( เป็นครั้ง ที่ 2) 1. การจัดที่ดินเกษตรกรรม (472,500 ไร่
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
การถ่ายโอนภารกิจให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
กลุ่มที่ ๔ “ รวมมิตรพิชิต ศูนย์ ” ® วิธีการ/แนวทางการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาส่งเสริม การเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน.
กลุ่มที่ 7 ไก่บูรพา วิทยากร อ.พลภัทร วารี ผู้ช่วยวิทยากรสมชาย ชะฎาดำ.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 1 ดอกแก้วภูพาน จ. สกลนคร จ. สุรินทร์ จ. หนองคาย จ. หนองบัวลำภู จ. อุดรธานี
ระบบส่งเสริมการเกษตร
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
ศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ ๑ จังหวัดชัยนาท
ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานให้กับเกษตรกร ๒.เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการศัตรูพืชได้ด้วยตัวเองอย่างยั่งยืน.
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
โครงการ จัดระบบสินค้าเกษตรในระดับพื้นที่
โครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไม้ผลคุณภาพดี ปีงบประมาณ ๒๕๕๕
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตกาแฟ
โครงการ ฝึกอาชีพการเกษตรเฉพาะด้าน ปี 51
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
ระบบเตือนภัยศัตรูพืช
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มเด็กวัยเรียน
กลุ่มสับปะรด 1. นายนิวัต ใจรินทร์ สนง.กษจ.ลำปาง(ประธาน )
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการค่าจ้าง เรื่อง อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ ( ฉบับที่ 7) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 30 พฤศจิกายน 2555.
Knowledge Management องค์ความรู้เรื่อง “ การส่งเสริมงานวิสาหกิจชุมชนของสำนักงาน เกษตรอำเภอเมืองราชบุรี ” ความสำคัญ ถอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมงาน.
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
การวิจัย และองค์ความรู้จากโครงการหลวง
การดำเนินงาน เพื่อดูแลคุณภาพ ชีวิตเกษตรกร โดย นางสาวมยุรี บุญญาเสนีย์กุล นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 5 สำนักพัฒนาเกษตรกร กรม ส่งเสริมการเกษตร.
การติดตามงานโครงการส่งเสริมการเกษตรครั้งที่ ๓ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
หน่วย เคลื่อนที่เร็ว วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมสถานการณ์ ศัตรูพืชและลดปัญหาการระบาด ได้ทันต่อเหตุการณ์ เป้าหมาย ครอบคลุมพื้นที่การระบาด ศัตรูพืช 76 จังหวัด.
การจัดการความรู้ (KM) ปี 2558 สำนักงานเกษตรอำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตพืชเศรษฐกิจ (สับปะรด) สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตพืชเศรษฐกิจ (สับปะรด)

สถานการณ์การผลิตและการตลาด สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

สถานการณ์การผลิตและการตลาด 1.ประเทศไทยส่งออก อันดับ ๑ ของโลก 2.พื้นที่เก็บเกี่ยว ๖ แสนไร่/ปี 3.ผลผลิต ๒ – ๒.๕ ล้านตัน/ปี 4.มูลค่า ๒๙,๐๐๐ ล้านบาท 5.ผู้ปลูกสับปะรด ๓๘,๐๐๐ ครัวเรือน ๒๐ จังหวัด สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

สภาพปัญหา สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

สภาพปัญหา 1.เกษตรกรขาดความรู้ด้านการผลิต 2.ต้นทุนการผลิตสูง 3.ผลผลิตต่อไร่ต่ำ 4.คุณภาพผลผลิตไม่ได้ตามมาตรฐานโรงงาน 5.ผลผลิตออกกระจุกตัว ล้นตลาด ราคาตกต่ำ 6.องค์กรเกษตรกรไม่เข้มแข็ง 7.โรคเหี่ยวระบาด สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

วัตถุประสงค์ สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

วัตถุประสงค์ ผลิตสับปะรดให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานโรงงาน ๒. พัฒนาเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ๓. เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ลดต้นทุนการผลิต สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

ผลผลิตเพิ่มพูน องค์กรเข้มแข็ง แปลงพันธุ์ปลอดโรค concept ผลผลิตเพิ่มพูน องค์กรเข้มแข็ง แปลงพันธุ์ปลอดโรค สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

พื้นที่เป้าหมาย 20 จังหวัด ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ลำปาง อุตรดิตถ์ เชียงราย อุทัยธานี พิษณุโลก ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา ชัยภูมิ เลย หนองคาย นครพนม สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

กิจกรรม ๑. การอบรมเกษตรกร ๒. การอบรมเจ้าหน้าที่ ๓. จัดทำแปลงต้นแบบการป้องกันกำจัดโรคแมลง ๔.การประชุมคณะกรรมการกลุ่มระดับประเทศ / ระดับจังหวัด / ระดับอำเภอ ๕. การประชุมสมาชิกกลุ่มระดับตำบล ๖. การติดตามสถานการณ์การผลิตการตลาด

วิธีการดำเนินโครงการ 1.การอบรมเกษตรกร จำนวน 2 หลักสูตร 1.1 หลักสูตรการผลิตสับปะรดตามระบบ GAP 1.2 หลักสูตรการป้องกันกำจัดโรคเหี่ยว ๒. การอบรมเจ้าหน้าที่ หลักสูตรการผลิตการตลาดสับปะรด ๓.จัดทำแปลงต้นแบบการป้องกันกำจัดโรคแมลง

วิธีการดำเนินโครงการ ๔. ประชุมคณะกรรมการกลุ่มระดับประเทศ ๕. ประชุมคณะกรรมการกลุ่มระดับจังหวัด ๖. ประชุมคณะกรรมการกลุ่มระดับอำเภอ ๗. ประชุมสมาชิกกลุ่มระดับตำบล ๘. ติดตามรวบรวมข้อมูลสถานการณ์การผลิต ๒๐ จังหวัด สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

ประเด็นวัดผลของโครงการ เกษตรกร 2,250 ราย ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี และมีความรู้ 1.การผลิตตามระบบ GAP 2.การป้องกันกำจัดโรคเหี่ยว 3.กระบวนการกลุ่ม สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ กลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว ส่วนส่งเสริมการผลิตพืชไร่ สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร โทร. 02-9406078 โทรสาร 02-9406078 e-mail : bat2501@hotmail.com ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร