น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท
Advertisements

การจัดการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน โครงการเท่ห์กินผักน่ารักกินผลไม้
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
งานผลิตปุ๋ยชีวภาพ เป็นการนำสิ่งเหลือใช้ในชีวิตประจำวันได้แก่เปลือกกล้วยนำมาผสมกับ หัวเชื้อจุลินทรีย์ และกากน้ำตาลในอัตราส่วน เปลือกกล้วย 2 กก.: เชื้อจุลินทรีย์
สาระเทคการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช่วงชั้นที่ ๑
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
ดำเนินการโดย สำนักงานเกษตรอำเภอวังม่วง อำเภอวังม่วง จังหวัด สระบุรี
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
สรุปใส่ปุ๋ย 100 กก.พืชกินปุ๋ยได้แค่ 30 กก.
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
โครงงานเทคโนโลยี เรื่อง กำจัดศัตรูผักคะน้าด้วยสมุนไพรธรรมชาติ
การทำน้ำหมักสมุนไพรขับไล่แมลงในสวนผัก
1 ผักปลอดสารพิษ ผลผลิตพืชผักที่ไม่มีสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชตกค้างอยู่ หรือมีตกค้างอยู่ไม่เกินระดับมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นางสาววิไลวรรณ ดุลยพัฒน์
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
การจัดการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน โครงการเท่ห์กินผักน่ารักกินผลไม้
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
การจัดการองค์ความรู้ (KM) การทำนาข้าวโดยไม่เผาตอซัง
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
************************************************
ผู้เข้าร่วมสัมมนา รวม ๒๐๕ คน
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
ศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ ๑ จังหวัดชัยนาท
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
การให้น้ำยางพาราปลูกใหม่ในช่วงฤดูแล้ง
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานให้กับเกษตรกร ๒.เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการศัตรูพืชได้ด้วยตัวเองอย่างยั่งยืน.
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
พี่น้องปุ๋ยหมักโบกาชิ
การคัดพันธุ์ข้าว โดย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนายทองเหมาะ แจ่มแจ้ง
การใช้นมสดเพิ่มคุณภาพพืชผัก
สูตรดองไข่เค็มแบบเร่งรัด
วัสดุอุปกรณ์ ๑. เปลือกไข่ไก่, ไข่เป็ด จำนวน ๑๕ - ๒๐ ฟอง
รายงานสถานการณ์การระบาดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
การทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพในบ่อเลี้ยงปลาดุก
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
นายสุพจน์ ไชยวรรณ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ ฟางข้าวกับยางพารา
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
น้ำสกัดชีวภาพ BIOEXTRACT สารสารพัดประโยชน์ ครูไพฑูรย์ ศิริรักษ์
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
การเจริญเติบโตของพืช
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
วันที่ 22 กรกฎาคม 2553 นายธวัฒน์ชัย ม่วง ทอง ได้ให้เกียรติเป็นประธานเปิดงานโครงการคลินิกพืช ณ สำนักงานเกษตรอำเภอบ้านสร้าง สถานการณ์การทำ การเกษตรในสภาวะปัจจุบัน.
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายบุญสวย เชื้อสะอาด
การผลิตเชื้อราบิวเวอร์เรียระบบเปิดเทคนิคปลอดเชื้อ ( Aseptic thicnique ) ด้วยข้าวเปลือก นายชาญยุทธ อุปัชฌาย์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ สำนักงานเกษตรอำเภอจอมบึง.
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
การจัดการความรู้ (KM) ปี 2558 สำนักงานเกษตรอำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ

เพลี้ยแป้ง เป็นศัตรูพืชตัวหนึ่งที่มีปัญหาต่อเกษตรกร ผู้ปลูกมันสำปะหลังในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทำให้ผลผลิตมันสำปะหลังลดลง หรืออาจถึงตายการใช้สารเคมีจะทำให้ต้นทุนการผลิตสูง และเป็นปัญหาต่อสภาพแวดล้อม การที่จะทำให้เพลี้ยแป้งมันสำปะหลังหมดไปจากแปลงมันสำปะหลัง หรือลดต้นทุนการผลิตและรักษาสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่ดีต้องใช้น้ำหมักปลาร้ากำจัดและจะเป็นปุ๋ยทางใบเพื่อบำรุงมันสำปะหลังให้เจริญเติบโตได้ดีได้ผลผลิตสูง

วัสดุอุปกรณ์ ๒. กากน้ำตาล ๓ ส่วน ๓. น้ำสะอาด ๑๐ ส่วน ๔. โอ่งมังกร ๑ ใบ ๑. ปลาร้า ๑ ส่วน ๒. กากน้ำตาล ๓ ส่วน ๓. น้ำสะอาด ๑๐ ส่วน ๔. โอ่งมังกร ๑ ใบ

วิธีทำ - นำวัสดุอุปกรณ์ เช่น ปลาร้า กากน้ำตาล น้ำสะอาด หมักลงในโอ่งมังกร ประมาณ ๒๐-๓๐ วัน เปิดใช้ได้

วิธีใช้ - กรองเอาน้ำหมักที่เก็บไว้ในภาชนะ เช่น ขวดแก้ว หรือภาชนะดินเคลือบ ใช้น้ำหมักปลาร้าผสมน้ำสะอาด น้ำหมักปลาร้า ๔ ช้อนแกง ผสมน้ำ ๒๐ ลิตร ฉีดพ่นมันสำปะหลังที่มีอายุไม่เกิน ๖ เดือน ใช้น้ำหมัก ๖ ช้อนแกง ผสมน้ำ ๒๐ ลิตร ใช้ฉีดพ่นมันสำปะหลัง ที่มีอายุเกิน ๖ เดือนขึ้นไป รับประกันเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังหายไปจากแผ่นดินแน่นอน

หมายเหตุ การหมักต้องหมักในภาชนะดินเคลือบ หรือภาชนะที่เป็นแก้ว ถ้าหมักในภาชนะอย่างอื่นน้ำหมักจะกัดกร่อนเพราะปลาร้ามีส่วนผสมของเกลือ

The End…