หนอนหัวดำมะพร้าว Opisina arenosella Coconut black headed caterpillar

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท
Advertisements

นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
รายงานการระบาดศัตรูพืช
การจัดการหนอนใยผักแบบบูรณาการ
แมลงศัตรูไม้สัก Insect Pest of Teak Trees
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
โดย นางสาว วันวิสาข์ ลิจ้วน M นางสาว ปาริชาต กรวยนอก M
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
กีฎวิทยาและการควบคุม
องค์ความรู้น้ำส้มควันไม้ สายด่วนข้อมูลปฏิรูปที่ดิน
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
โครงงานต่อยอดเทคโนโลยีที่สืบค้นจากเอกสารสิทธิบัตรระดับนานาชาติ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
นางสาวจิตรลดาพร แพงดี คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวาริชศาสตร์
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
การผลิตคะน้าแบบไว้ตอ
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
แตนเบียนไข่ไตรโครแกรมม่า Trichogramma spp.
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
การควบคุมเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
ปลูกมะนาว ในท่อซีเมนต์ เทคนิคบังคับออกผลช่วงราคาแพง
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดชัยนาท
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
การป้องกันกำจัดหอยทาก
การใช้แมลงศัตรูธรรมชาติควบคุม เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
วิธีหมัก หมัก 3 วัน เติมออกซิเจน.
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
งานวิจัยของภาควิชากีฏวิทยา
หมากเขียว MacAthur Palm
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
บริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช
การเปลี่ยนแปลงรูปร่างและการเจริญเติบโตของแมลง
บริการตรวจวิเคราะห์ สารพิษตกค้าง เพื่อสนับสนุนความมั่นใจให้แก่ เกษตรกรเมื่อดำเนินการผลิตตาม คำแนะนำของเจ้าหน้าที่แล้ว ผลผลิต ที่ได้จะไม่มีสารพิษตกค้าง.
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
หลักการและเหตุผล. - ปี หนอนกออ้อยระบาดขยาย
กล้วย.
เรื่อง หอยเชอรรี่ กลุ่ม ที่ 3
ชื่อเรื่อง ผีเสื้อแสนสวยสายพันธุ์ต่างๆ จัดทำโดย ด. ญ
สารบัญ ระยะเวลาการวางไข่ 3 ตัวหนอน 4 ดักแด้ 5 ตัวเต็มวัย 6.
อาจารย์ ดลหทัย อินทร์จันทร์
ประเภทของมดน่ารู้.
การเพาะเลี้ยงแมลงห้ำ
Welcome to .. Predator’s Section
ปลาหางนกยูง.
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล(Brown planthopper)
วันที่ 22 กรกฎาคม 2553 นายธวัฒน์ชัย ม่วง ทอง ได้ให้เกียรติเป็นประธานเปิดงานโครงการคลินิกพืช ณ สำนักงานเกษตรอำเภอบ้านสร้าง สถานการณ์การทำ การเกษตรในสภาวะปัจจุบัน.
บทปฏิบัติการที่ 16 ระบบการหายใจ (Respiratory System)
การผลิตเชื้อราบิวเวอร์เรียระบบเปิดเทคนิคปลอดเชื้อ ( Aseptic thicnique ) ด้วยข้าวเปลือก นายชาญยุทธ อุปัชฌาย์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ สำนักงานเกษตรอำเภอจอมบึง.
ชั้นม.1/4 เลขที่ 16 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน.
หน่วย เคลื่อนที่เร็ว วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมสถานการณ์ ศัตรูพืชและลดปัญหาการระบาด ได้ทันต่อเหตุการณ์ เป้าหมาย ครอบคลุมพื้นที่การระบาด ศัตรูพืช 76 จังหวัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หนอนหัวดำมะพร้าว Opisina arenosella Coconut black headed caterpillar นายสมหมาย พัชรกิตติคุณ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดชัยนาท

ตัวเต็มวัย เป็นผีเสื้อกลางคืน ปีกสีเทาอ่อน มีจุดสีเทาเข้มที่ปลายปีก ลำตัวแบน ยาว ประมาณ 1-1.2 ซม. ผีเสื้อตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ วางไข่ครั้งละประมาณ 200 ฟอง

ลักษณะการทำลาย การทำลายจะเกิดในระยะตัวหนอนเท่านั้น ตัวหนอนเมื่อฟักออกมาใหม่ๆจะอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม มีหัวสีดำ ลำตัวสีเหลือง เมื่อมีอายุมากขึ้นหัวจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้ม ลำตัวสีน้ำตาลอ่อน มีลายพาดยาวตามลำตัว

ลักษณะการทำลาย(ต่อ) ชอบทำลายใบแก่ของมะพร้าว หนอนจะถักใย ดึงใบมะพร้าว มาเรียงติดกันเป็นแพ สร้างอุโมงค์เป็นทางยาว อาศัยกัดกินอยู่ภายในอุโมงค์ เข้าดักแด้อยู่ภายใยอุโมงค์ ดักแด้มีสีน้ำตาลเข้ม ใบที่ถูกทำลายมีลักษณะแห้งเป็นสีน้ำตาล

ดักแด้หนอนหัวดำมะพร้าว

ใบมะพร้าวที่ถูกหนอนหัวดำทำลาย

ต้นมะพร้าวที่ถูกหนอนหัวดำทำลาย

การป้องกันกำจัด ตัดเก็บใบที่ถูกทำลายมาเผา ควบคุมโดยชีววิธี ใช้แตนเบียนหนอน ใช้แตนเบียนดักแด้ ใช้สารเคมี กลุ่ม ไพรีทรอย์ ความเข้มข้นตามคำแนะนำของฉลาก ใช้ B T