สรุปผลการดำเนินงานโครงการ ปีงบประมาณ 2553 กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
Advertisements

ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนในโรงเรียน
ประเด็นการตรวจติดตาม
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ คชก.
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
เขาวังคู่บ้าน ขนมหวาน เมืองพระ เลิศล้ำศิลปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม
โครงการเงินอุดหนุนทั่วไป ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่
โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ความเป็นมา กระทรวงเกษตรและสหกรณ์มีความปลื้มปิติและสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ.
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
กลุ่มที่ 1.
การจัดเก็บข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลช้างทูน อำเภอบ่อ ไร่ จังหวัดตราด.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายสมบัติ เซี่ยงว่อง
- กรมส่งเสริมการเกษตร -
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
การดำเนินงานวิสาหกิจชุมชนจังหวัดลำพูน
ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2551 รายเดือน จดหมายข่าว Food Safety ประจำเดือนนี้ ขอเสนอเรื่องที่ทำให้ กรมส่งเสริมการเกษตรได้มี หนังสือให้เขต ศูนย์ปฏิบัติการ.
สำนักงานเกษตรอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย
แบ่งออกเป็น 3หมวด คือ 1. ข้อมูลหมวด ก. เป็นข้อมูลส่วนบุคคลของ เกษตรกร ประกอบด้วย ข้อ 1. ลักษณะการประกอบการเกษตร ข้อ 2. สมาชิกในครัวเรือนที่ร่วมกิจกรรม.
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
M R C F LONGAN (PILOT PROJECT)
ระบบส่งเสริมการเกษตร
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
คำอธิบายเกษตรหมู่บ้าน
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดกระบี่ (พืชสวน)
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
โครงการขึ้นทะเบียนการปลูก พืชเศรษฐกิจหลัก 3 ชนิด
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
ผลการ ดำเนินงาน โดย : อรุณี เจริญ ศักดิ์ศิริ. มติ คชก. 14 พย. 50 กรมการค้า ภายใน กรมบัญชีกลาง แจ้งให้ทำ 20 พย. 50 ขอเบิกเงิน 8 มค.51 โอนเงินให้ 17 มค.51.
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
การจัดทำฐานข้อมูลการผลิตและการตลาดของสมาชิก
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
ITกับโครงการ Food safety
ระบบเตือนภัยศัตรูพืช
(พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว)
รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ฝ่ายวิชาการ
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
การขึ้นทะเบียนผู้ปลูกพืชเศรษฐกิจหลัก เพื่อโครงการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55 กรมส่งเสริมการเกษตร.
“ การตรวจราชการ บูรณาการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบบริหาร ”
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน พฤษภาคม 2554 สำนักงานเกษตรอำเภอบางแก้ว.
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
ภารกิจจัดที่ดิน ปีงบประมาณ 2553
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าว รอบที่ 1 ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใต้ที่ปลูกเหมือนภาคอื่นๆ.
มติ คปก. 3/2549 วันที่ 29 กันยายน 2549
การติดตามงานโครงการส่งเสริมการเกษตรครั้งที่ ๓ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลดอนดึง อำเภอ บ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายสุ กัญญา หนุนบุญ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลและ อำเภอทุ่ง ช้าง จังหวัดน่าน ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย จิตร เสียงกอง เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
หน่วย เคลื่อนที่เร็ว วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมสถานการณ์ ศัตรูพืชและลดปัญหาการระบาด ได้ทันต่อเหตุการณ์ เป้าหมาย ครอบคลุมพื้นที่การระบาด ศัตรูพืช 76 จังหวัด.
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลการดำเนินงานโครงการ ปีงบประมาณ 2553 กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต สรุปผลการดำเนินงานโครงการ ปีงบประมาณ 2553 กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต สำนักงานเกษตรจังหวัดลำพูน

โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน ปี 2553

วัตถุประสงค์โครงการ เพื่อพัฒนาเกษตรกรให้ได้รับความรู้ การผลิตสินค้าเกษตรตามระบบการ จัดการคุณภาพ เพื่อการรับรอง มาตรฐานแหล่งผลิต GAP พืช

กิจกรรมที่ได้รับอนุมัติให้ดำเนินการ สรุปผลการดำเนินงาน กิจ กรรมที่ กิจกรรมที่ได้รับอนุมัติให้ดำเนินการ เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 1 พัฒนาเกษตรกรสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP ปี 2553 400 ราย อบรมเกษตรกร 420 ราย / แปลง 2 เตรียมความพร้อมเกษตรกรสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP ปี 2554 1,900 ราย อบรมเกษตรกร 1,900 ราย

รายละเอียดการดำเนินงานแต่ละกิจกรรม กิจกรรมที่ 1 อบรมเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 420 ราย และมีการประเมินแปลงเบื้องต้น ส่งผลการประเมินแปลงเบื้องต้นให้กรมวิชาการเกษตร เพื่อออกใบรับรองแปลง GAP จำนวน 413 แปลง กิจกรรมที่ 2 อบรมเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบการรับรองแปลง ปี 2554 จำนวน 1,900 ราย ในพื้นที่ทุกอำเภอ

ปัญหา / อุปสรรค / ข้อเสนอแนะ การออกใบรับรองแปลงของทางกรมวิชาการเกษตร ไม่เป็นไปตามที่ได้ทำ MOU ไว้

โครงการบริหารจัดการสินค้าเกษตร ปี 2553 โครงการบริหารจัดการสินค้าเกษตร ปี 2553 วัตถุประสงค์โครงการ เพื่อเพิ่มโอกาสและขยายช่องทางการตลาดสินค้าเกษตร (ลำไย) ส่งเสริมการปรับโครงสร้างการผลิตลำไยของเกษตรกร

กิจกรรมที่ได้รับอนุมัติให้ดำเนินการ สรุปผลการดำเนินงาน กิจ กรรมที่ กิจกรรมที่ได้รับอนุมัติให้ดำเนินการ เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 1 อบรมเกษตรกร/สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตผลไม้ 125 ราย - มีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ 5 อำเภอ จำนวน 125 ราย - เกษตรกรมีความรู้ในเรื่องการตลาด 2 อบรม / ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตลำไยนอกฤดู 400 ราย มีเกษตรกรเข้าร่วมอบรม 4 อำเภอ คือป่าซาง บ้านโฮ่ง เวียงหนองล่อง แม่ทา - เกษตรกรนำความรู้ไปปฏิบัติในแปลงของตนเอง

รายละเอียดการดำเนินงานแต่ละกิจกรรม อบรมเกษตรกร / สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตผลไม้ หลักสูตร “การตลาดนำการผลิต” ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตลำไยนอกฤดูแก่กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตลำไย

ปัญหา / อุปสรรค / ข้อเสนอแนะ งบประมาณ กิจกรรมที่ 1 อบรมเกษตรกร/สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตผลไม้ มีน้อย ไม่สามารถพาเกษตรกรไปศึกษาดูงานได้

โครงการขึ้นทะเบียนผู้ปลูกพืชเศรษฐกิจ 3 ชนิด โครงการขึ้นทะเบียนผู้ปลูกพืชเศรษฐกิจ 3 ชนิด วัตถุประสงค์ของการขึ้นทะเบียน 1. เพื่อให้มีฐานข้อมูลเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และมันสำปะหลัง ปี 2552 / 53 ที่ถูกต้องครบถ้วน 2. เพื่อออกใบรับรองให้เกษตรกรใช้เป็นหลักฐานในการเข้าร่วมโครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และมันสำปะหลัง ปี 2552 / 53

ผลการขึ้นทะเบียนผู้ปลูกพืชเศรษฐกิจ 3 ชนิด สรุปผลการดำเนินงาน ผลการขึ้นทะเบียนผู้ปลูกพืชเศรษฐกิจ 3 ชนิด ปี 2552/53 ข้าวนาปี เกษตรกร 18,375 ราย พื้นที่ 106,575 ไร่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เกษตรกร 6,758 ราย พื้นที่ 100,037 ไร่ มันสำปะหลัง เกษตรกร 90 ราย พื้นที่ 1,059 ไร่ รวม 3 ชนิด เกษตรกร 25,223 ราย พื้นที่ 207,671 ไร่

ผลการประชาคม/ออกใบรับรองผู้ปลูกพืช เศรษฐกิจ 3 ชนิด ปี 2552/53 ข้าวนาปี เกษตรกร 17,992 ราย พื้นที่ 104,842 ไร่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เกษตรกร 6,758 ราย พื้นที่ 100,037 ไร่ มันสำปะหลัง เกษตรกร 90 ราย พื้นที่ 1,059 ไร่ รวม 3 ชนิด เกษตรกร 24,840 ราย พื้นที่ 205,938 ไร่

ผลการขึ้นทะเบียน/ประชาคม/ออกใบรับรอง ผู้ปลูกข้าว ปี 2552/53 รอบที่ 2 ผู้ปลูกข้าว ปี 2552/53 รอบที่ 2 ข้าวรอบที่ 2 ขึ้นทะเบียนเกษตรกร 1,823 ราย พื้นที่ 17,051 ไร่ ผลการทำประชาคม / ออกใบรับรองผู้ปลูกข้าว 1,823 ราย พื้นที่ 17,051 ไร่ รวม 1 ชนิด เกษตรกร 1,823 ราย

รายละเอียดการดำเนินงาน การรับขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกพืช การบันทึกข้อมูลการขึ้นทะเบียนผู้ปลูกพืชลงในระบบโปรแกรม การจัดทำประชาคม เพื่อตรวจสอบข้อมูลการขึ้นทะเบียนระดับตำบล การออกใบรับรองเกษตรกรผู้ปลูกพืช เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการทำสัญญาประกันรายได้กับ ธ.ก.ส.

ปัญหา / อุปสรรค / ข้อเสนอแนะ 4.1 การขึ้นทะเบียนเกษตรกร ปัญหา 1. ในช่วงแรกมีเกษตรกรมาขึ้นทะเบียนน้อย 2. เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่มีเอกสารหลักฐาน เอกสารที่ดิน สัญญาเช่า แนวทางแก้ไข 1. จัดทำประกาศให้ผู้นำท้องถิ่นประชาสัมพันธ์ เพื่อให้เกษตรกรทราบ และเข้าในนโยบาย 2. จัดทำแบบรับรองการใช้ประโยชน์ที่ดินโดยให้ผู้นำในพื้นที่ลงนามรับรอง ใช้เป็นหลักฐานประกอบการยื่นขึ้นทะเบียนได้

4.2 การทำประชาคม ปัญหา 1. วิธีการ ขั้นตอน และรายงานไม่ชัดเจน 2. ไม่มีค่าตอบแทนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการประชาคม แนวทางแก้ไข 1. กำหนดแนวทาง ขั้นตอน และวิธีการให้ชัดเจน 2. ควรจัดสรรงบประมาณเป็นค่าตอบแทนให้คณะกรรมการ

4.3 การบันทึกข้อมูลเข้าสู่ระบบ 4.3 การบันทึกข้อมูลเข้าสู่ระบบ ปัญหา ข้อมูลเกษตรกรบางรายไม่ชัดเจน การแก้ไขข้อมูลต้องแจ้งส่วนกลาง และมีขั้นตอนมาก แนวทางแก้ไข มอบหมายเจ้าหน้าที่ตรวจสอบข้อมูลโดยละเอียดก่อนบันทึกลงในระบบ และประสานงานส่วนกลางเพื่อแก้ไขในระบบ

4.4 การออกใบรับรอง ปัญหา ใบรับรองผลการขึ้นทะเบียน เกษตรกรนำไปทำสัญญากับ ธ.ก.ส. ไม่ได้ เนื่องจากข้อมูลในระบบไม่ตรงกัน แนวทางแก้ไข ประสานงานกับ ธ.ก.ส. เพื่อแก้ไขเบื้องต้น และประสานงานส่วนกลางเพื่อแก้ไขในระบบโปรแกรม

4.5 ปัญหาอื่น ๆ ปัญหา งบประมาณล่าช้า การเบิกจ่ายล่าช้า ไม่สอดคล้องกับระยะเวลาปฏิบัติงาน การประชาสัมพันธ์การขึ้นทะเบียนค่อนข้างน้อย โดยเฉพาะในช่วงการขึ้นทะเบียนพืชเศรษฐกิจ

โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร ปีงบประมาณ 2553 จังหวัดลำพูน

วัตถุประสงค์ เพื่อให้เกษตรกรที่มีปัญหาด้านการเกษตรในพื้นที่ห่างไกล สามารถเข้าถึงการบริการทางวิชาการ และได้รับการแก้ไขปัญหาด้านการเกษตรอย่างครบวงจรในคราวเดียวกัน เพื่อบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานวิชาการ หน่วยงานส่งเสริม และศูนย์บริการฯ ในการให้บริการและแก้ไขปัญหาทางการเกษตรร่วมกัน

วิธีดำเนินงาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ฯ กำหนดแผนการจัดงานคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ฯ อย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง ดังนี้ ครั้งที่ 1 เนื่องในวันคล้ายวันประสูติ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายา ฯ กำหนดช่วงจัดงาน 9 – 31 ธันวาคม 2552 ครั้งที่ 2 จัดงานตามที่จังหวัดเห็นสมควร กำหนดช่วงจัดงาน 1 มกราคม – 31 มีนาคม 2553

ครั้งที่ 3 เนื่องในวันคล้ายวันประสูติ พระเจ้า หลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ ในวันที่ 29 เมษายน กำหนดช่วงจัดงานระหว่างวันที่ 29 เมษายน – 31 พฤษภาคม 2553 ครั้งที่ 4 เนื่องในวันคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร ในวันที่ 28 กรกฎาคม กำหนดช่วงจัดงานระหว่างวันที่ 28 กรกฎาคม – 31 สิงหาคม 2553

กระบวนการและขั้นตอนการดำเนินงาน แบ่งช่วงเวลาการดำเนินการออกเป็น 4 ระยะ คือ การเตรียมการก่อนเปิดคลินิก การดำเนินการระหว่างเปิดคลินิก การติดตามให้บริการต่อเนื่อง การรายงานผลการดำเนินงาน

ผลการดำเนินงานจัดคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ฯ ปี 2553 ครั้งที่ 1 จัดเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2552 ณ โรงเรียนบ้านห้วยไซใต้ ตำบลห้วยยาบ อำเภอบ้านธิ มีเกษตรกรลงทะเบียนร่วมงาน 667 คน ครั้งที่ 2 จัดเมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2553 ณ บริเวณที่ว่าการอำเภอเวียงหนองล่อง อำเภอเวียงหนองล่อง มีเกษตรกรลงทะเบียนร่วมงาน 224 คน

ครั้งที่ 3 จัดเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2553 ณ เทศบาลตำบลทุ่งหัวช้าง ตำบลทุ่งหัวช้าง อำเภอทุ่งหัวช้าง มีเกษตรกรลงทะเบียนร่วมงาน 425 คน ครั้งที่ 4 จัดเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2553 ณ หอประชุมโรงเรียนนาทรายวิทยาคม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ มีเกษตรกรลงทะเบียนร่วมงาน 745 คน

สรุปการดำเนินงานจัดคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ฯ ปี 2553 จังหวัดลำพูน สรุปการดำเนินงานจัดคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ฯ ปี 2553 จังหวัดลำพูน ดำเนินการจัดในพื้นที่ 4 อำเภอ รวม 4 ครั้ง เกษตรกรลงทะเบียนร่วมงานทั้งสิ้น 2,061 คน

ขอบคุณ สวัสดี