ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามกุฎราชกุมาร นางลาวัลย์ ฉัตรวิรุฬห์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร.
Advertisements

การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานและการประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น(SRM)
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
HPC 11 กรอบแนวทางการดำเนินงาน นโยบายกรมอนามัย ศูนย์อนามัยที่ 11 ปีงบประมาณ 2553 กลุ่มยุทธศาสตร์ 31 กค. 52.
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
รายประเด็น ปีงบประมาณ 2553
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย ปี 2551
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 2: ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น นำ KM ไปใช้ 1. ระดับศูนย์เขต 1.1 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เสริมสร้างศักยภาพ ชมรมเด็กไทยทำได้ วันที่
นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ เด็กวัยเรียนและเยาวชน
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
โครงการสำคัญตามนโยบาย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ประเด็นยุทธศาสตร์ ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น สุวิมล พู่ทรงชัย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 1 กรุงเทพฯ

สรุปผลการดำเนินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ปีงบประมาณ 2553 (ตั้งแต่ปี 2541 ถึงปัจจุบัน) จังหวัด จำนวนโรงเรียน (ระดับ) รวมโรงเรียนทั้งหมด จำนวนโรงเรียนที่ผ่านการประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ประถม มัธยม เพชร ทอง เงิน ทองแดง ไม่ผ่าน/ ไม่รับการประเมิน รวม ผ่านทั้งหมด นนทบุรี 193 22 215 157 52 6 - ปทุมธานี 237 3 190 32 12 อ่างทอง 168 16 184 5 151 25 อยุธยา 411 30 441 2 364 58 17 987 90 1,077 9 863 167 38

เพื่อให้เด็กวัยเรียนและวัยรุ่น มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม เป้าประสงค์ เพื่อให้เด็กวัยเรียนและวัยรุ่น มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม และอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ

อนามัยเด็กวัยเรียนและเยาวชน กลุ่ม อนามัยเด็กวัยเรียนและเยาวชน

โรงเรียนทุรกันดาร ของศูนย์อนามัยที่ 1 โรงเรียนร่วมใจประสิทธิ์ ต.บึงคอไห่ อ.ลำลูกกา จ.ปทุมธานี โรงเรียนร่วมจิตรประสาท ต.บึงคอไห่ อ.ลำลูกกา จ.ปทุมธานี โรงเรียนรวมราษฎร์สามัคคี ต.บึงคอไห่ อ.ลำลูกกา จ.ปทุมธานี โรงเรียนเจริญดีวิทยา ต. ลำลูกกา อ.ลำลูกกา จ.ปทุมธานี

โครงการส่งเสริมและพัฒนา โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพปี 2554

วัตถุประสงค์ เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจ / การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายในการพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร เพื่อส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายและแกนนำนักเรียนใน โรงเรียนถิ่นทุรกันดารมีความรู้ด้านการส่งเสริมและเฝ้า ระวังภาวะการเจริญเติบโต เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนให้ผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน

เป้าหมาย / กลุ่มเป้าหมาย โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพของ 4 จังหวัดในเขต 1 การพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพสู่ระดับเพชร 5 โรงเรียน - จ.นนทบุรี เป้าหมาย โรงเรียนหนองเพรางาย อ.ไทรน้อย - จ.ปทุมธานี เป้าหมาย โรงเรียนวัดประยูรธรรมาราม อ.ลำลูกกา - จ.พระนครศรีอยุธยา เป้าหมาย โรงเรียนเปรมฤทัย อ.วังน้อย - จ.อ่างทอง เป้าหมาย โรงเรียนวัดท่าสามัคคี อ.โพธิ์ทอง - จ.อ่างทอง เป้าหมาย โรงเรียนมหานาม อ.ไชโย ระยะเวลาดำเนินการ ตุลาคม 2553 - กันยายน 2554

ตัวชี้วัดผลสำเร็จโครงการ ตัวชี้วัดการตรวจราชการฯ โรงเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับเพชร 5 โรงเรียน ตัวชี้วัดการตรวจราชการฯ โรงเรียนเข้าร่วมโครงการก้าวสู่โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร จังหวัดละ 3 โรงเรียน รวม 12 โรงเรียน หมายเหตุ : โรงเรียนต้องผ่านเกณฑ์การประเมินเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรภายใน 2 ปี

บทบาทส่วนกลาง ดำเนินการเชิงนโยบายกับกระทรวงศึกษาธิการ ทบทวนและจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชนระยะสั้นระยะยาว ศึกษาวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน พัฒนาศักยภาพบุคลากรและเป็นที่ปรึกษาทางวิชาการ

บทบาทศูนย์เขต ประสานความเข้าใจเกี่ยวกับแผนงาน / โครงการ ปี 2554 เป็นที่ปรึกษาทางวิชาการและสนับสนุนการดำเนินงานโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพให้บรรลุเกณฑ์มาตรฐาน ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการประเมิน อบรมให้ความรู้การส่งเสริมสุขภาพและการเฝ้าระวังภาวะการเจริญเติบโตในโรงเรียนทุรกันดารแก่ภาคีเครือข่าย

บทบาทศูนย์เขต พัฒนาศักยภาพนักเรียนแกนนำในการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและการเฝ้าระวังภาวะสุขภาพและให้ความรู้เด็กวัยเรียนในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียนทุรกันดาร. นิเทศ / ติดตาม และประเมินรับรองการเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร จัดทำฐานข้อมูล

บทบาทจังหวัด ร่วมเป็นคณะกรรมการส่งเสริมสุขภาพของโรงเรียนและร่วมดำเนินการอย่างเป็นระบบ ประสานและสร้างความร่วมมือในการดำเนินโครงการกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง สนับสนุนด้านวิชาการ สื่อ เอกสารความรู้ และถ่ายทอด พัฒนาศักยภาพบุคลากรภาคีเครือข่ายและนักเรียนแกนนำในโรงเรียนในการส่งเสริมสุขภาพตลอดจนการจัดทำโครงงานสุขภาพเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพในโรงเรียน

บทบาทจังหวัด จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับจังหวัด ประกาศเกียรติคุณโรงเรียน ชมรมเด็กไทยทำได้ที่มีผลงานดีเด่น ประเมินรับรองโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ และสรุปรายงานผลการดำเนินงาน