การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เกณฑ์ กว เดิม นศ. ก่อนรุ่น 2546 เกณฑ์สภาวิศวกร นศ. รุ่น 2546 เป็นต้นไป
Advertisements

Texture การประมวลผลภาพแบบดิจิตอล Ian Thomas
E-R Model บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต.
วงจรลบแรงดัน (1).
FireWire.
PCI EXPRESS.
การเรียนครั้งที่ 9 บทที่ 4: “Telecommunications, the Internet, Intranets, and Extranets” โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์ อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
Inside a digital image How colour is defined for images
Blum Blum Shub Generator การเพิ่มอัตราเร็วของแหล่งกำเนิดบลัม บลัม ชับ
อินเตอร์เน็ต.
EDGE GPRS.
Data Transmission Encoding Techniques and Transmission mode
Network Model Signal and Data transmission
Switching Network Circuit Switching/Packet Switching
Multiplexing and Network Multiplexing
Chapter 19 Network Layer: Logical Addressing
บทที่ 4 อุปกรณ์สื่อสาร(Communication Equipment)
ISDN (Integrated Services Digital Network)
( wavelength division mux)
Personal Area Network (PAN)
WIMAX มาทำความรู้จักกับ wimax กันดีกว่า Wimax คืออะไร หน้าที่ของwimax
บทที่ 3 ในการเชื่อมต่อเครือข่าย
Number Representations
PARITY GENERATOR & CHECKER
Digital Data Communication Technique
Sharing Communication Lines
Cable Twist-pair (สายคู่บิดเกลียว) Coaxial (สายโคแอกเชียล)
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน
เนื้อหา วัตถุประสงค์ของการใช้ระบบเครือข่าย
Asst.Prof. Dr.Surasak Mungsing
4/4/2017 การสื่อสารข้อมูล เทคโนโลยีเพื่อการส่งสัญญานข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยมีองค์ประกอบพื้นฐาน 4 อย่าง คอมพิวเตอร์ หรือ หน่วยรับข้อมูล หรือ.
ให้ประหยัดการใช้หน่วยความจำ (space) ด้วยความรวดเร็ว (time)
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
Computer Coding & Number Systems
บทที่ 3 การส่งผ่านข้อมูล และการอินเตอร์เฟซ
ระบบสื่อสัญญาณเคเบิลใยแก้ว
การสื่อสารข้อมูล Data Communication Chapter 10 วชิรธรรมสาธิต
ระบบการสื่อสารข้อมูลและโครงข่ายโทรคมนาคม
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
Computer Network.
Chapter 3 Simple Supervised learning
Lab 1 – 2 Protocols Guideline.
บทที่ 4 Modulation วิชา... เทคโนโลยีไร้สาย
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
บทที่ 4 พื้นฐานข้อมูลและสัญญาณ (Fundamental of Data and Signals)
ADSL คืออะไร.
บทที่ 8 การมัลติเพล็กซ์สัญญาณ
อาจารย์จังหวัด ศรีสลับ เสนอ จัดทำ โดย แผนก คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ นางสาวสุวรรณ รัตน์ ดำรัส นางสาวศศิธร ดำเกิงพันธุ์
วัตถุประสงค์ อธิบายหลักการส่งข้อมูลแบบขนานและแบบอนุกรมได้
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
ATM (Asynchronous Transfer Mode )
1 IS516 การสื่อสารคอมพิวเตอร์และและเครือข่าย (Computer Communication and Networks) Asst. Dr. Surasak Mungsing
การเชื่อมต่อ Internet การเชื่อมต่อไปยัง ISP การเชื่อมต่อไปยังระบบ LAN การเชื่อมต่อแบบไร้สาย การเชื่อมต่อผ่านระบบเคเบิลทีวี
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
บทที่ 1 ดิจิตอลลอจิกและ โครงสร้างคอมพิวเตอร์
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
Wang991.wordpress.com Relation and function Click when ready 
Concept and Terminology Guided media (wired) Twisted pair Coaxial cable Optical fiber Unguided media (wireless) Air Seawater Vacuum Direct link Point.
Page : Stability and Statdy-State Error Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Stability and Steady-State Error.
Multiplexing Techniques 1. Frequency-division multiplexing 2. Time-division multiplexing.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
การติดต่อสื่อสารของคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 ระบบมัลติเพล็กซ์ จุดประสงค์การสอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Data Communication and Networks บทที่ 2 พื้นฐานข้อมูลและสัญญาณ อาจารย์ผู้สอน : ดร.วีรพันธุ์ ศิริฤทธิ์ E-Mail : siririth @ gmail.com

Multiplexing

Data Communication and Networks การมัลติเพล็กซ์ (Multiplexing) การมัลติเพล็กซ์เป็นเทคนิคที่อนุญาตให้สัญญาณที่ใช้แทนข้อมูลจากหลายแหล่งข้อมูล สามารถส่งผ่านช่องสัญญาณเดียวกันเพื่อใช้งานร่วมกันได้ โดยมีความจำเป็นที่จะต้องใช้สายเพื่อเชื่อมต่อให้มีจำนวนน้อย แต่ให้มีความสามารถลำเลียงข้อมูลออกไปในปริมาณมากได้ ทำให้มีการลงทุนที่ต่ำและประหยัด ดังนั้นจึงเกิดแนวคิดการรวมข้อมูลขึ้นหรือเรียกว่า การมัลติเพล็กซ์ (Multiplexing) . การมัลติเพล็กซ์ (Multiplexing) ? www.pcbc.ac.th

Data Communication and Networks การมัลติเพล็กซ์ (Multiplexing) 1. การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งความถี่ (Frequency Division Multiplexing: FDM) การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งความถี่ จะอนุญาตให้ผู้ส่งหรือสถานีส่งจำนวนหลาย ๆ สถานี และสถานีฝ่ายรับสามารถสื่อสารร่วมกันอยู่บนสายสัญญาณเดียวกันได้ ด้วยการใช้เทคนิคแบบแอนะล็อกที่ข้องเกี่ยวกับแบนด์วิดธ์ของลิงก์ หรือตัวกลางส่งข้อมูลเป็นสำคัญ โดยสัญญาณต่าง ๆ จะถูกสร้างขึ้นจากแต่ละสถานีส่ง ด้วยการมอดูเลตกับสัญญาณพาหะให้มีความถี่ที่แตกต่างกันบนตัวกลาง กล่าวคือ แบนด์วิดธ์ของลิงก์จะมีการแบ่งส่วนเป็นย่านความถี่ย่อย (Sub Channel) ให้เพียงพอกับแบนด์วิดธ์ที่มีอยู่ อย่างไรก็ตาม แต่ละแชนแนลก็จะมีแบนด์วิดธ์ที่ไม่ได้ถูกใช้หรือที่เรียกว่า Guard Band เพื่อป้องกันไม่ให้แต่ละแชนแนลเกิดการแทรกแซงสัญญาณระหว่างกัน . www.pcbc.ac.th

Data Communication and Networks การมัลติเพล็กซ์ (Multiplexing) 2. การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งเวลา (Time Division Multiplexing: TDM) การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งเวลา เหมาะกับสัญญาณแทนข้อมูลแบบดิจิตอล เนื่องจากสัญญาณดิจิตอลนั้นจะมีช่วงเวลาที่แน่นอนของบิตแต่ละบิต จึงทำให้สามรถมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งเวลาให้มีความสอดคล้องกับเวลาของบิตได้ แต่ว่า การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งเวลานี้จะข้องเกี่ยวกับอัตราความเร็ว (Data Rate) ของตัวกลางส่งข้อมูลเป็นสำคัญ โดยสัญญาณที่มีอัตราความเร็วต่ำหลาย ๆ สัญญาณ เมื่อนำมามัลติเพล็กซ์รวมกันก็จะได้สัญญาณที่มี Data Rate ที่สูงขึ้น . www.pcbc.ac.th

Data Communication and Networks การมัลติเพล็กซ์ (Multiplexing) 2.1 การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งเวลาในรูปแบบซิงโครนัส (Synchronous Time Division Multiplexing: Sync TDM) สามารถเรียกสั้น ๆ ว่า ซิงโครนัสทีดีเอ็ม (Sync TDM) ซึ่งจะอนุญาตให้ข้อมูลจากแต่ละแหล่งมาหมุนเวียนเพื่อส่งข้อมูลไปบนสายส่งข้อมูลความเร็วสูง ด้วยการใช้หลักการเดียวกับ Round-Robin เช่น มีจำนวน n ที่อินพุตเข้ามา ซิงโครนัสทีดีเอ็มก็จะให้ชิ้นส่วนของข้อมูล เช่น ไบต์ข้อมูล จากอุปกรณ์ส่งผ่านไปยังสายส่งข้อมูลความเร็วสูง จากนั้นก็ให้อุปกรณ์ที่จะอินพุตในลำดับถัดไปส่งไบต์ข้อมูลผ่านสายส่งข้อมูลความเร็วสูงหมุนเวียนต่อไปเรื่อย ๆ . www.pcbc.ac.th

Figure 6.1 Dividing a link into channels

Figure 6.2 Categories of multiplexing

6.1 FDM Multiplexing Process Demultiplexing Process The Analog Hierarchy Other Applications of FDM Implementation

Figure 6.3 FDM

FDM is an analog multiplexing technique that combines signals. Note: FDM is an analog multiplexing technique that combines signals.

Figure 6.4 FDM process

Figure 6.5 FDM demultiplexing example

Figure 6.6 Example 1

Example 2 Five channels, each with a 100-kHz bandwidth, are to be multiplexed together. What is the minimum bandwidth of the link if there is a need for a guard band of 10 kHz between the channels to prevent interference? Solution For five channels, we need at least four guard bands. This means that the required bandwidth is at least 5 x 100 + 4 x 10 = 540 kHz, as shown in Figure 6.7.

Figure 6.7 Example 2

ระบบที่มีแบนวิดซ์สูง ๆ จะส่งขอมูลได้มาก Figure 6.9 Analog hierarchy ระบบที่มีแบนวิดซ์สูง ๆ จะส่งขอมูลได้มาก

6.2 WDM Wave Division Multiplexing

Figure 6.10 WDM

WDM is an analog multiplexing technique to combine optical signals. Note: WDM is an analog multiplexing technique to combine optical signals.

Figure 6.11 Prisms in WDM multiplexing and demultiplexing

6.3 TDM Time Slots and Frames Interleaving Synchronizing Bit Padding Digital Signal (DS) Service T Lines Inverse TDM More TDM Applications

Figure 6.12 TDM

TDM is a digital multiplexing technique to combine data. Note: TDM is a digital multiplexing technique to combine data.

Figure 6.13 TDM frames

Example 5 Four 1-kbps connections are multiplexed together. A unit is 1 bit. Find (1) the duration of 1 bit before multiplexing, (2) the transmission rate of the link, (3) the duration of a time slot, and (4) the duration of a frame? Solution We can answer the questions as follows: 1. The duration of 1 bit is 1/1 Kbps, or 0.001 s (1 ms). 2. The rate of the link is 4 Kbps. 3. The duration of each time slot 1/4 ms or 250 ms. 4. The duration of a frame 1 ms.

Note: In a TDM, the data rate of the link is n times faster, and the unit duration is n times shorter.

Figure 6.14 Interleaving

Example 6 Four channels are multiplexed using TDM. If each channel sends 100 bytes/s and we multiplex 1 byte per channel, show the frame traveling on the link, the size of the frame, the duration of a frame, the frame rate, and the bit rate for the link. Solution The multiplexer is shown in Figure 6.15.

Figure 6.15 Example 6

Example 7 A multiplexer combines four 100-Kbps channels using a time slot of 2 bits. Show the output with four arbitrary inputs. What is the frame rate? What is the frame duration? What is the bit rate? What is the bit duration? Solution Figure 6.16 shows the output for four arbitrary inputs.

Figure 6.16 Example 7

Figure 6.17 Framing bits

Example 8 We have four sources, each creating 250 characters per second. If the interleaved unit is a character and 1 synchronizing bit is added to each frame, find (1) the data rate of each source, (2) the duration of each character in each source, (3) the frame rate, (4) the duration of each frame, (5) the number of bits in each frame, and (6) the data rate of the link. Solution See next slide.

Solution (continued) We can answer the questions as follows: 1. The data rate of each source is 2000 bps = 2 Kbps. 2. The duration of a character is 1/250 s, or 4 ms. 3. The link needs to send 250 frames per second. 4. The duration of each frame is 1/250 s, or 4 ms. 5. Each frame is 4 x 8 + 1 = 33 bits. 6. The data rate of the link is 250 x 33, or 8250 bps.

Example 9 Two channels, one with a bit rate of 100 Kbps and another with a bit rate of 200 Kbps, are to be multiplexed. How this can be achieved? What is the frame rate? What is the frame duration? What is the bit rate of the link? Solution We can allocate one slot to the first channel and two slots to the second channel. Each frame carries 3 bits. The frame rate is 100,000 frames per second because it carries 1 bit from the first channel. The frame duration is 1/100,000 s, or 10 ms. The bit rate is 100,000 frames/s x 3 bits/frame, or 300 Kbps.

Figure 6.18 DS hierarchy

Table 6.1 DS and T lines rates Service Line Rate (Mbps) Voice Channels DS-1 T-1 1.544 24 DS-2 T-2 6.312 96 DS-3 T-3 44.736 672 DS-4 T-4 274.176 4032

Figure 6.19 T-1 line for multiplexing telephone lines

Figure 6.20 T-1 frame structure

Table 6.2 E line rates E Line Rate (Mbps) Voice Channels E-1 2.048 30 8.448 120 E-3 34.368 480 E-4 139.264 1920

Figure 6.21 Multiplexing and inverse multiplexing