นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
กลวิธี 3. มาตรการทางกฎหมายเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
แนวทางการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ฉบับบูรณาการ กรมอนามัย และ กรมควบคุมโรค (HPH PLUS) ปีงบประมาณ 2552 ภายใต้ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ.
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์
การสร้างแรงจูงใจและพัฒนา อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม
ความหมายและกระบวนการ
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แก้ไขปัญหาทารกแรกเกิด นน.<2,500 กรัม อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
รายงานความก้าวหน้า การดำเนินงานโครงการสำคัญ โดย นายแพทย์สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย.
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
โครงการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กในชุมชน ด้านสุขภาพอนามัยและพัฒนาการ ของเด็ก พ
กรอบประเด็น คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ โครงการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กในชุมชนด้านสุขภาพอนามัยและการพัฒนาการของเด็ก 2553-2555 โดย นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

2. พัฒนาคุณภาพ ศูนย์เด็กเล็ก 3. อสม./องค์กรปกครองท้องถิ่น การพัฒนาศูนย์เด็กเล็กในชุมชนด้านสุขภาพอนามัยและการพัฒนาการของเด็ก พ.ศ. 2553 - 2555 1. หนังสือเล่มแรก พัฒนาเจ้าหน้าที่สาธารณสุข มอบนิทานเด็กทุกคน อสม. ส่งเสริม/ติดตาม ผลลัพธ์ เด็กปฐมวัย สมส่วนพัฒนาการสมวัย ศูนย์เด็กเล็กเรียนรู้ ทักษะบุคลากรสาธารณสุข/ ผู้ดูแลเด็ก การมีส่วนร่วมของชุมชน 2. พัฒนาคุณภาพ ศูนย์เด็กเล็ก พัฒนาครูพี่เลี้ยง จัดทำสื่อสนับสนุน ประเมินและรับรองคุณภาพศูนย์เด็กเล็ก 4. การบริหารจัดการ รพ.สต. นิเทศ ติดตาม พ่อแม่ ผู้ดูแลเด็ก สร้างกระแสสังคม ประเมินโครงการ 3. อสม./องค์กรปกครองท้องถิ่น พัฒนาศักยภาพ อปท. มีส่วนร่วม สนับสนุน เยี่ยมติดตาม

วัตถุประสงค์ 1. เด็กในศูนย์เด็กเล็กมีสุขภาพอนามัย พัฒนาการ และการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ 2. พัฒนาศักยภาพครูผู้เลี้ยงดูเด็ก / ผู้เกี่ยวข้องมีความรู้ ทักษะ การดูแลสุขภาพอนามัยอย่างรอบด้าน 3. พัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชน อปท. / หน่วยงานต่าง ๆ เพื่อการพัฒนาเด็ก 4. พัฒนาศูนย์เด็กเล็ก เป็นศูนย์การเรียนรู้ เพื่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย

ข้อมูลศูนย์เด็กเล็กปี2553 กรุงเทพมหานคร 328 กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น 17,821 กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ 1,663 กระทรวงสาธารณสุข 58 กระทรวงกลาโหม 104 กระทรวงแรงงาน 69 รวม 20,043

กลุ่มเป้าหมายการดำเนินงาน ปี 2553 ศูนย์เด็กเล็กที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 4,667 แห่ง ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ระดับพื้นฐาน พัฒนาเป็นระดับดี จำนวน 876 แห่ง ปี 2554 ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ระดับพื้นฐาน พัฒนาเป็นระดับดี จำนวน 4,522 แห่ง ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ระดับดี พัฒนาเป็นระดับดีมาก จำนวน 2,000 แห่ง ปี 2555 ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ระดับพื้นฐาน พัฒนาเป็นระดับดี จำนวน 5,832 แห่ง ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ระดับดี พัฒนาเป็นระดับดีมาก จำนวน 2,000 แห่ง

เป้าหมายการพัฒนาศูนย์เด็กเล็ก พ.ศ. 2553 - 2555 เป้าหมายการพัฒนาศูนย์เด็กเล็ก พ.ศ. 2553 - 2555 ก่อนโครงการ 2553 สิ้นปี งบประมาณ 2553 สิ้นปี งบประมาณ 2554 สิ้นปี งบประมาณ 2555 ดีมาก 3,146 5,146 7,146 ดี 5,667 6,543 9,065 12,897 พื้นฐาน 6,563 10,354 5,832 ไม่ผ่าน 4,667 รวม 20,043 กำหนด เวลา มาตรฐาน

ทิศทางการดำเนินงานปี 2555 มีแนวคิดและหลักการในการดำเนินการ 4 ประการ ดังนี้ ยึดหลักการแนวทางการดำเนินงานโครงการตามแผนงาน 4 แผนงาน เร่งรัดการพัฒนาคุณภาพศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บูรณาการร่วมกับโครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย มุ่งเน้นการทำงานแบบมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่าย

การดำเนินงานปี2555 แผนงานที่ 1 หนังสือเล่มแรก เป้าหมาย เด็ก 800,000 คน กิจกรรม . มอบหนังสือนิทานให้พ่อแม่เมื่อมารับบริการ ณโรงพยาบาล /รพ.สต. - เด็กแรกเกิด 1 เล่ม - เด็กอายุ 6 เดือน 1 เล่ม - เด็กอายุ 12 เดือน 1 เล่ม

แผนงานที่ 2 พัฒนาคุณภาพศูนย์เด็กเล็ก แผนงานที่ 2 พัฒนาคุณภาพศูนย์เด็กเล็ก พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ บูรณาการกระบวนการดำเนินงานพัฒนาศูนย์เด็กน่าอยู่และปลอดโรค อบรมทีมประเมินระดับเขต/จังหวัด/อำเภอ ประเมินและรับรองคุณภาพศูนย์เด็กเล็ก

แผนงานที่ 3 อสม. ชุมชน เป้าหมาย : อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน แผนงานที่ 3 อสม. ชุมชน เป้าหมาย : อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กิจกรรม 1. ส่งเสริมบทบาท อสม. มีส่วนร่วมพัฒนาเด็ก ในศูนย์เด็กและชุมชน - เยี่ยมบ้านเด็กแรกเกิด - 5 ปี - จัดกิจกรรมในศูนย์เด็กเล็ก 2. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข นิเทศ สนับสนุน การปฏิบัติงานของ อสม.

แผนงานที่ 4 การบริหารจัดการ แผนงานที่ 4 การบริหารจัดการ กิจกรรม 1.รวบรวมข้อมูลศูนย์เด็กเล็ก (ศูนย์อนามัยที่ 1 -12) 2. นิเทศ ติดตาม สนับสนุนการพัฒนาศูนย์เด็กเล็ก 3. ประเมินและรับรองคุณภาพศูนย์เด็กเล็ก 4.คัดเลือกศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ยอดเยี่ยมระดับจังหวัด 4. ประเมินผลโครงการ

โครงการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กในชุมชน ด้านสุขภาพอนามัย และการพัฒนาการของเด็ก พ.ศ. 2553 - 2555 ผลลัพธ์ เด็กปฐมวัย สมส่วน พัฒนาการสมวัย ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ ทักษะบุคลากรสาธารณสุข/ผู้ดูแลเด็ก การมีส่วนร่วมของชุมชน

สวัสดี