โครงการสำคัญตามนโยบาย อารยา สกนธวัฒน์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 1 กรุงเทพฯ
โครงการวัยรุ่นสดใส ไม่ท้องก่อนวัย ทักษะชีวิตดี มีอนาคต มาตรการ เป้าหมาย 1. จังหวัดมีแผนยุทธศาสตร์บูรณาการ 2. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สนับสนุนการจัดบริการที่เป็นมิตร สำหรับวัยรุ่นและเยาวชน 3. สถานบริการภาครัฐ/รพ. มีการ จัดบริการที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่น และเยาวชน 36 จังหวัด 350 แห่ง
แนวคิดการดำเนินงานการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ผลลัพธ์ พฤติกรรม แนวทางแก้ไข สถานศึกษา พัฒนาหลักสูตรการเรียน เพศศึกษาอย่างรอบด้าน พัฒนาโรงเรียนตามเกณฑ์ อนามัยการเจริญพันธุ์ Friend Corner หน่วยบริการสาธารณสุข คลินิกบริการสุขภาพที่เป็นมิตร กับวัยรุ่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบล ครอบครัว/ชุมชน จัดทำแผนบูรณาการระดับ จังหวัด/อปท. สร้างครอบครัวอบอุ่นอนามัย การเจริญพันธ์ พัฒนาแกนนำวัยรุ่น/สภาเด็กฯ พัฒนาคู่มือ อสม. พัฒนาสื่อมวลชน การชะลอการมี เพศสัมพันธ์ (Delay Sex) มีทักษะชีวิตเรื่องเพศ รู้คุณค่าใสตนเอง / ให้เกียรติ การมีเพศสัมพันธ์ ที่ปลอดภัย (Safe Sex) ใช้วิธีคุมกำเนิดอย่าง เหมาะสม ใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งเมื่อมี เพศสัมพันธ์ ใช้บริการให้คำปรึกษา ใช้บริการวางแผนครอบครัว แท้งที่ปลอดภัย การลดการตั้งครรภ์ ในวัยรุ่น (Teenage Pregnancy)
สภาเด็กและเยาวชน / เด็กไทยทำได้ / To be # 1 /GO / NGO / อสม. สถานศึกษา สถานบริการสาธารณสุข จังหวัด/ชุมชน/ครอบครัว หลักสูตรเพศศึกษารอบด้าน โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับเพชร มุมเพื่อนใจวัยรุ่น คลินิกวัยรุ่น บริการเชิงรุก วางแผนครอบครัว เฝ้าระวังแท้ง บูรณาการอนามัยการเจริญพันธุ์ เวทีสาธารณะ ครอบครัว อพ. สภาเด็กและเยาวชน / เด็กไทยทำได้ / To be # 1 /GO / NGO / อสม. ชะลอเพศสัมพันธ์ เพศสัมพันธ์ปลอดภัย การวางแผนตั้งครรภ์ สัดส่วนเพศสัมพันธ์ ม.2, ม.5 / ปวช.2 ร้อยละใช้ถุงยางอนามัย / ร้อยละวิธีคุมกำเนิด อัตราแม่วัยรุ่น (15-19ปี) ต่อพันวัยรุ่น
ลดการ ตั้งครรภ์ วัยรุ่น รัฐบาล วัฒนธรรม / ICT กลั่นกรองสื่อ จัดการสื่อไม่ สร้างสรรค์ สื่อสร้างสรรค์ สร้างภูมิคุ้มกัน อส.วัฒนธรรม กลั่นกรอง วาระแห่งชาติ พัฒนาเด็ก และเยาวชน งปม. พัฒนาครู นโยบาย แผนประชากร องค์กรเอกชน เพศศึกษารอบด้าน เพศวิถี / ผู้เรียนศูนย์กลาง พัฒนาด้านบวก ทักษะ สื่อสาร ต่อรอง ฯลฯ ศึกษาธิการ มหาดไทย/ตำรวจ ลดการ ตั้งครรภ์ วัยรุ่น การเรียนรู้เพศศึกษา พัฒนาครูสอน / ครูแนะแนว ทักษะชีวิตนักเรียน/คัดกรอง ตั้งครรภ์ให้เรียนต่อ บังคับใช้กฎหมาย สื่อ แหล่งบันเทิง หอเถื่อน โซนนิ่งแหล่งบันเทิง ท้องถิ่นสร้างทักษะ ชีวิต สาธารณสุข พม. ยุทธศาสตร์ อพ. ถุงยาง 100% บริการเป็นมิตรวัยรุ่น บริการคุมกำเนิด สร้างกระแสสังคม ดูแลวัยรุ่นตั้งครรภํ ยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไข ป้องกัน ช่วยเหลือ พื้นฟู ผู้นำทางความคิด/รณรงค์ ผลักดันนโยบาย ข้อมูล ติดตาม ประเมิน
ตารางแสดงจำนวนและร้อยละของมารดาวัยรุ่นที่คลอดบุตร (พ.ศ.2552) จังหวัด มารดาทุกอายุ (คน) อายุต่ำกว่า 15 ปีบริบูรณ์ อายุต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์ จำนวน (คน) ร้อยละ นนทบุรี 11,215 59 0.53 1,498 13.36 ปทุมธานี 12,067 54 0.45 1,427 11.38 พระนครศรีอยุธยา 9,790 50 0.51 1,452 14.83 อ่างทอง 3,021 20 0.66 551 18.24 ที่มา : ระบบรายงานสภาวะการมีบุตรของวัยรุ่น สป.พม. ประมวลผลจากข้อมูลการจดทะเบียนเกิดของสำนักบริหารงานทะเบียน กรมการปกครอง
โครงการวัยรุ่นสดใส ไม่ท้องก่อนวัย ทักษะชีวิตดี มีอนาคต โครงการวัยรุ่นสดใส ไม่ท้องก่อนวัย ทักษะชีวิตดี มีอนาคต วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมภาคีและเครือข่ายระดับจังหวัดร่วมกันจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นและเยาวชนแบบบูรณาการ Your Text Here Your Text Here 2. เพื่อสนับสนุนให้ภาคีเครือข่ายร่วมกันดำเนินการส่งเสริมและป้องกันอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นอย่างยั่งยืน Your Text Here 3. เพื่อส่งเสริมให้โรงพยาบาลจัดบริการสุขภาพและอนามัยการเจริญพันธ์ที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชนตามมาตรฐาน 4. เพื่อส่งเสริมความเข็มแข็งให้เครือข่ายมีการดำเนินงานต่อเนื่อง
จังหวัดมีแผนที่ยุทธศาสตร์บูรณาการระดับจังหวัด จังหวัดมีการจัดตั้งคณะอนุกรรมการการพัฒนางาน อนามัยการเจริญพันธุ์ระดับจังหวัด จังหวัดสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับ วัยรุ่นและเยาวชน โรงพยาบาลมีการดำเนินการเพื่อจัดบริการสุขภาพที่ เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชน (Youth Friendly Health Services = YFHS) ตัวชี้วัด
บทบาทศูนย์อนามัย ประสาน / ชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน แผนงาน/โครงการ ปี 2554 ขยายรูปแบบโครงการให้กับจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ จัดประชุมปฏิบัติการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ (แบบมีส่วนร่วม) การพัฒนา อนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นระดับจังหวัด (ก.พ. 54) ร่วมดำเนินการกับสำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ ในการจัดอบรมผู้ให้ บริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชน (21-23 มี.ค. 54) ให้การปรึกษา นิเทศ / ติดตาม สนับสนุน และรายงานผลการดำเนินงาน
บทบาทสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ค้นหาภาคีและเครือข่ายจากทุกภาคส่วนในจังหวัดที่ดำเนินการเกี่ยวกับวัยรุ่น ร่วมจัดประชุมทำแผนยุทธศาสตร์ฯ กับศูนย์อนามัย จัดตั้งคณะอนุกรรมการอนามัยการเจริญพันธุ์ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น (การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น) ประสานกับโรงพยาบาลในพื้นที่จังหวัด เพื่อเข้ารับการอบรมผู้ให้บริการที่เป็น มิตรกับวัยรุ่นและเยาวชน สนับสนุนและผลักดันโรงพยาบาลที่เข้าโครงการฯ มีการดำเนินการ จัดบริการ สุขภาพที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชน พัฒนา / ขยายการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์ในพื้นที่ นิเทศ / ติดตาม และรายงานผลการดำเนินงาน