หยุดโลกร้อนด้วยชีวิตพอเพียง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีใหม่.
Advertisements

การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
กินอย่างไรช่วยลดภาวะโลกร้อน
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
โครงสร้างรายงานสถานการณ์ พลังงานจังหวัด
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ภาวะโลกร้อน นายอัศวิน สมบูรณชนะชัย คณะอุตสาหกรรมเกษตร ปี2.
วิธีการช่วยป้องกัน สภาวะโลกร้อน.
10วิธีลดภาวะโลกร้อน จัดทำโดย
Global Warming.
ลดโลกร้อน ด้วยมือเรา.
ภาวะโลกร้อน.
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
อิทธิพลของสภาวะโลกร้อนที่ส่งผลต่อ แมลงศัตรูพืช
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
เศรษฐกิจพอเพียง.
ภาวะโลกร้อน จัดทำโดย 1. ด.ช. ศักดิ์ดา โนนน้อย เลขที่ ด.ช. ณัฐชนน วงศ์สุริยา เลขที่ ด.ญ. มินตรา เสือภู่ เลขที่ ด.ญ. วราภรณ์ คอบุญทรง เลขที่
เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
ก๊าซเรือนกระจก ธีรดนย์ เธียรหิรัญ ๕๒๑๑๐๐๐๖๐๙.
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
Fuel cell Technology  เซลล์เชื้อเพลิง.
Ecodesign นำเสนอ โดย นายนราวิชญ์ รุ่งเดช เลขที่ 25
น้ำมันไบโอดีเซล คืออะไร
อะไรคือ “ไฮบริด”. อะไรคือ “ไฮบริด” ไฮบริด ( hybrid) คือ ระบบการทำงานของเครื่องยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์สองระบบทำงานร่วมกัน โดยทั่วไปแล้วหมายถึงการทำงานร่วมกันระหว่างระบบสันดาปภายในที่ใช้น้ำมันเป็นเชื้อเพลิงทำงานร่วมกับระบบมอเตอร์ไฟฟ้า.
SOLAR CHIMNEY (ปล่องลมแสงอาทิตย์)
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
เป้าประสงค์ 1 เพื่อให้ภาคสาธารณสุข ตระหนักถึงปัญหา และ ร่วมมือในการลด GHG (green house gas) 2 ส่งเสริมให้ภาคสาธารณสุขแสดงจิตสาธารณะ ในการร่วมลดโลกร้อนด้วยการลดการปลดปล่อย.
เศรษฐกิจแบบพอเพียง.
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
ระเบิดเวลาที่รอวันปะทุ
ระเบิดเวลาที่รอวันปะทุ
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การเชื่อมโยงความสัมพันธ์
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
โรงพยาบาลหนองวัวซอ จ.อุดรธานี วันที่ 29 กรกฎาคม 2554
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
1.ใช้ถ่านไฟฉายที่สามารถบรรจุไฟได้ใหม่
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
การกำจัดขยะโดยใช้หลัก 3R
ถัดไป. ภาวะโลกร้อน หมายถึง ภาวะที่อุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกสูงขึ้น ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง ถัดไ ป.
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
การลดปัญหาขยะในบริเวณโรงเรียนและการส่งเสริมการลดภาวะโลกร้อน จัดทำโดย นายปรีชา สลางสิงห์ นางสาวฐิติมา ขุมเงิน นางสาวกกมลทิพย์ วรโยธา โรงเรียนคำสร้อยพิทยาสรรค์
การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
สื่อการเรียนรู้เรื่อง หยุดโลกร้อนด้วยความพอเพียง
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
Welcome to. โลกร้อน คืออะไร ? ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศ เปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราใน ปัจจุบัน สังเกตได้จาก.
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
โลกร้อน!!ครับ ภาวะโลกร้อน คือ การที่ อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นจากภาวะเรือน กระจก หรือที่เรารู้จักกันดีในชื่อ ว่า Green house effect ซึ่งมีต้นเหตุจากการที่มนุษย์
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
สภาวะโลกร้อน ร้อน จัดทำโดย นายอรรถพล เพ็งพันธ์. ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดสภาวะโลกร้อน ซี่งปรากฏการณ์ทั้งหลายเกิดจากภาวะโลกร้อนขึ้นที่มีมูลเหตุมา จากการปล่อยก๊าซพิษต่าง.
ภาวะโลกร้อน.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของ โลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
พระบิดาแห่งการพัฒนาพลังงานไทย
GO!!.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง น้ำแข็งขั้วโลกละลาย
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่ สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ภาวะโลกร้อน.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ภาวะโลกร้อนเป็นภัยพิบัติที่มาถึง โดยที่เราทุกคน ต่างทราบถึงสาเหตุของการเกิดเป็นอย่างดี นั่นคือ การที่มนุษย์เผาผลาญเชื้อเพลิงฟอซซิล เช่น ถ่าน หิน น้ำมัน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หยุดโลกร้อนด้วยชีวิตพอเพียง

เราสามารถป้องกันไม่ให้ภาวะโลกร้อนเลวร้ายไปกว่านี้ได้ ด้วยการใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่าที่สุด ไม่ว่าจะเป็นพลังงาน ไฟฟ้า น้ำ หรือน้ำมัน เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก นอกจากนี้ เราควรดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง กินแค่พอดี มีแค่พอใช้ เปลี่ยนนิสัยให้พอเพียง

ลดปริมาณการใช้ถุงพลาสติก ลดปริมาณการใช้ถุงพลาสติก เพราะถุงพลาสติกไม่สามารถย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติ และการเผากำจัดในเตาเผาขยะอย่างถูกวิธีต้องใช้พลังงานจำนวนมาก

สร้างนโยบาย 3Rs สร้างนโยบาย 3Rs   Reduce, Reuse, Recycle ทั้งในบ้านและอาคารสำนักงาน เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์ทรัพยากรอย่างเต็มที่เป็นการลดพลังงานในการกำจัดขยะ ลดมลพิษและลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในกระบวนการกำจัด

ลดการใช้พลังงานในบ้าน ลดการใช้พลังงานในบ้านด้วยการปิดทีวี คอมพิวเตอร์ เครื่องเสียง และเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ เมื่อไม่ได้ใช้งาน จะช่วยลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้นับ 1 พันปอนด์ต่อปี

ขับรถยนต์ส่วนตัวให้น้อยลง ขับรถยนต์ส่วนตัวให้น้อยลง  ขับรถยนต์ส่วนตัวให้น้อยลง ใช้รถประจำทาง ปั่นจักรยาน หรือเดินแทน เมื่อต้องไปทำกิจกรรมหรือธุระใกล้ๆบ้าน เพราะการขับรถยนต์น้อยลง หมายถึงการใช้น้ำมันน้อยลง และลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ด้วย เพราะน้ำมันทุกๆแกลลอนที่ประหยัดได้จะลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 20 ปอนด์

ลดการเผาป่าหญ้า  การเผาป่าหญ้า หรือเศษซากพืช เป็นการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกสู่บรรยากาศจำนวนมาก นอกจากนั้นการตัดและเผาทำลายป่ายังเป็นการทำลายแหล่งกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่สำคัญ

ใช้กระดาษทั้ง 2 หน้า  ใช้กระดาษ 2 หน้า เพราะกระบวนการผลิตกระดาษแทบทุกขั้นตอน ต้องใช้พลังงานจากน้ำมัน และไฟฟ้าจำนวนมาก

ปลูกต้นไม้ในสวนหน้าบ้าน ปลูกต้นไม้ในสวนหน้าบ้าน  ปลูกต้นไม้ในสวนหน้าบ้านคนละ 1 ต้น จะช่วยระบายความร้อนและลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ในการปลูกต้นไม้ยืนต้น 1 ต้น จะสามารถดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 1 ต้น ตลอดอายุของมัน

เป็นผู้นำกระแสของสังคม เป็นผู้นำกระแสของสังคมเรื่องชีวิตที่พอเพียง ต้นตอหนึ่งของปัญหาโลกร้อน ก็คือ การบริโภคทรัพยากรจำนวนมหาศาล ชีวิตที่ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจึงน่าจะเป็นหนทางป้องกันและลดปัญหาโลกร้อนที่สังคมโลกกำลังเผชิญหน้าอยู่

เสนอ อ. วิชัย บุญเจือ จัดทำโดย น. ส เสนอ อ.วิชัย บุญเจือ จัดทำโดย น.ส.เสาวณีย์ ดีช่อรัมย์ นิสิตชั้นปีที่ 1 รหัสนิสิต 56070048 คณะสาธารณสุขศาสตร์ สาขาวิชา อนามัยสิ่งแวดล้อม