การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับภารกิจบรรเทาสาธารณภัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2556/57
Advertisements

รายงานสถานการณ์การผลิตข้าว
เครื่องตรวจวัด และเตือนภัยระดับน้ำ ด้วย Image Processing
ระบบวางแผนพัฒนาการใช้ดิน
ยุทธศาสตร์พัฒนาลุ่มน้ำยม
โปรแกรมเก็บสถิติทั่วไปด้านจัดสรรน้ำ ของโครงการชลประทาน (IRRIPROSTAT)
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
ดาวเทียม "ธีออส" (THEOS) ดาวเทียมดวงใหม่บนโลกสำรวจ ของประเทศไทยดวงแรก
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
การออกแบบงานชลประทานเบื้องต้น (สำหรับบุคลากรในสายสนับสนุนกรมชลประทาน)
มารู้จักเขื่อนใต้ดินกันเถอะ
คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย กรกฎาคม 2552
สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปี 2552
การประยุกต์ใช้แบบจำลอง SOBEK
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
ประมวลภาพ โครงการติดตามประเมินผล การปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายในจังหวัด ระยะที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กลุ่มที่ 5 จังหวัดตรัง.
การบริหารจัดการน้ำและแก้ไขปัญหาอุทกภัยของประเทศ
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การสำรวจทรัพยากรป่าไม้
การบริหาร และการจัดการเพื่อลดความเสี่ยง ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
การประยุกต์ใช้ GIS ของกทม.
การใช้ระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการวางแผน พัฒนาพื้นที่ในเขตปฏิรูปที่ดิน
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
การประชุมผู้บริหารกรมทรัพยากรน้ำ ครั้งที่ 9/2549 ระเบียบวาระที่ 4.4 การจัดทำคำของบประมาณจาก กองทุนสิ่งแวดล้อมเพื่อการฟื้นฟู อนุรักษ์แหล่งน้ำ ธรรมชาติ การจัดทำข้อเสนอโครงการเพื่อ.
วาระที่ 3.5 ความเห็นของ TRIS ต่อรายงาน KPI รอบ 6 เดือน ประเด็น TRIS ต้องการให้ ทน. ทำเพิ่มเติม (28 เมษายน 2549) ตัวชี้วัดที่ 3.1ประปาหมู่บ้าน ให้ติดตามการต่อยอดจากผลที่ได้ของ.
วาระที่ การจัดทำแผนพัฒนาแหล่งน้ำ
ข้อเสนอตัวชี้วัดของกรมทรัพยากรน้ำ ปี ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของความสำเร็จในการ ให้บริการสารสนเทศทรัพยากรน้ำ ผ่านระบบเครือข่าย เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ.
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
โครงการแก้ปัญหาภัยพิบัติโดยชุมชน บ้านห้วยลากปืนใน ต. ห้วยไร่ อ
แผนยุทธศาสตร์ ไตรมาส ที่ 1 ไตรมาส ที่ 2 ไตรมาส ที่ 3 ไตรมาส ที่ 4 แผน 3 1. นักเรียนชั้น ป.6 จำนวน 30% ทั่ว ประเทศได้มีการ เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ด้านยาเสพติด.
โดย รศ.ดร. มงคล รักษาพัชรวงศ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
M R C F LONGAN (PILOT PROJECT)
การประยุกต์ใช้ภูมิสารสนเทศ กับการบริหารศัตรูพืช
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
การประชุมผู้บริหารสำนักชลประทานที่ 10
. ประโยค คาถา ที่คาไว้ในใจ ม ปลูกข้าว แหล่งไหนดีครับ
ราคาตั้งแต่ 20,000 บาท ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพและ ความละเอียดของข้อมูล ต้องใช้พลังงานจากเรือยนต์
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
ร่างรายงานขั้นสุดท้าย (Draft Final Report)
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ 2553 สำนักงานประมงจังหวัดอุตรดิตถ์ ณ เดือนสิงหาคม 2553 สำนักงานประมงจังหวัด อุตรดิตถ์ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2553 เสนอ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตร.
การจัดชั้นคุณภาพสวนสักอายุ 14 ปี ไม้สักเจริญเติบโตได้ดีในสภาพที่มีความชุ่มชื้น สูง ดินลึก ( ดินชั้น A ลึก > 1 เมตร ) มีการระบายน้ำดี ดินมีสภาพเป็นกลางหรือเป็นด่างเล็กน้อย.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 2 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
ระบบตรวจวัดแผ่นดินไหว ในประเทศไทย Thailand Seismic Observatories
ตัวอย่างความสำเร็จ ชุมชนบ้านลิ่มทอง จังหวัดบุรีรัมย์
สำนักงานทรัพยากรน้ำภาค
ชุดโครงการวิจัย ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการปลูกยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี (Decision Support System for Rubber Plantation.
ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ
ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา
ภัยธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นในจังหวัดน่าน
ข้อเสนอโครงการ ภายใต้กรอบแนวคิดการ พัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุน การตัดสินใจ จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและ การเกษตร ( องค์การมหาชน )
ข้อเสนอโครงการ ภายใต้กรอบแนวคิดการ พัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุน การตัดสินใจ จัดทำโดย หน่วยงาน หน่วยงาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย.
ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ
บทสรุปจากการประชุม เครือข่ายระบบสารสนเทศน้ำจังหวัด
การใช้ Green ICT ในองค์กร แบบพอเพียง
เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง น้ำแข็งขั้วโลกละลาย
ครูธีระพล เข่งวา ข้อมูลของระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ประเภทใดไม่ใช่พื้นที่ที่ นิยมใช้กันมากคืออะไร ก. ตาราง ข. ข่าวสาร ค. รูปกราฟ ง. คำอธิบาย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับภารกิจบรรเทาสาธารณภัย โดย รศ.ดร.มงคล รักษาพัชรวงศ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ข้อมูลจำเพาะดาวเทียม SMMS มีวงโคจรลักษณะ Sun-Synchronous ที่ ความสูง 649 กิโลเมตร กล้อง CCD 4 แถบ ความถี่ (NIR, Red, Green, Blue) ที่ความ ละเอียด 30 เมตร ต่อจุด ความกว้าง ของภาพ 711 กิโลเมตร กล้อง Hyper- Spectrum (HSI) มี แถบความถี่ 115 ความถี่ ที่ความ ละเอียด 100 เมตร ต่อจุด ความกว้าง ของภาพ 51 กิโลเมตร ดาวเทียม SMMS ภาพถ่ายดาวเทียมจาก กล้อง CCD ภาพถ่ายดาวเทียมจากกล้อง Hyper-Spectrum

โอกาสในการถ่ายภาพประเทศไทยของ ดาวเทียม SMMS

ตัวอย่างการถ่ายภาพพื้นที่ประเทศไทยของดาวเทียม SMMS ภายในครั้งเดียว 4/1/10 14/11/09 19/11/09

ประสิทธิภาพของภาพถ่ายดาวเทียม SMMS แบบ CCD ต่างกันเพียง 2.16 เปอร์เซ็นต์ ภาพจากการประเมินพื้นที่เพาะปลูกข้าวบริเวณจังหวัดสุพรรณบุรี จากดาวเทียม ThEOS ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2553 ภาพจากการประเมินพื้นที่เพาะปลูกข้าวบริเวณจังหวัดสุพรรณบุรี จากดาวเทียม SMMS ช่วงเดือนมีนาคม 2553 ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ประสิทธิภาพของภาพถ่ายดาวเทียม SMMS แบบ CCD กรมทรัพยากรน้ำ นำไปใช้ทดแทน ข้อมูลดาวเทียม LANDSAT และ MODIS เพื่อวิเคราะห์ความแห้งแล้ง ของพื้นที่ ซอฟต์แวร์ประมวลผลข้อมูลความแห้งแล้งของพื้นที่ ที่มา: กรมทรัพยากรน้ำ

ประสิทธิภาพของภาพถ่ายดาวเทียม SMMS แบบ HSI พื้นที่เพาะปลูกข้าว จากสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ภาพถ่ายบริเวณที่ทำการตรวจสอบในจังหวัดพะเยา การแยกแยะข้าวด้วยภาพถ่ายดาวเทียม SMMS มีความถูกต้อง 64.79 เปอร์เซ็นต์

สภาวะภัยพิบัติกับภาพถ่ายดาวเทียมสำรวจโลก Prevention Respond Recovery Restore จัดทำแผนที่โอกาสเกิดภัยพิบัติหรือประเมินปัจจัยเสี่ยงภัย ติดตามสภาวะการฟื้นฟู จำลองสถานการณ์และประเมินพื้นที่เสี่ยงภัย ประเมินพื้นที่เสียหาย

การสร้างแผนที่โอกาสเกิดภัยพิบัติ

ตัวอย่าง Dynamic Hazard Map ในพื้นที่จังหวัดอุตรดิษฐ์ Susceptibility Map (Weighting Method) APIer Map Hazard Map created by APIt Map that update from satellite image factor (Rainfall Landuse Elevator and Slop)

การประเมินความชุ่มชื้นในดิน ด้วยภาพถ่าย HSI บนดาวเทียม SMMS เพื่อใช้การวิเคราะห์ภัยพิบัติ กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างย่านความถี่และความชุ่มชื้นในดินที่ระยะความลึก (ที่ระยะ 30 และ 60 เซนติเมตร)

การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับการประเมินการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่และลุ่มน้ำ จากรูป จะเห็นได้ว่า บริเวณพื้นที่รอบเขื่อน จะมีการเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจน นั้นคือ พื้นที่ที่เป็นป่าไม้ มีการเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งโดยปกติ การตรวจจับการเปลี่ยนแปลงสามารถทำได้โดยใช้ ซอฟต์แวร์ประมวลผล ในการวิเคราะห์ Change Detection ที่สามารถตรวจสอบได้ทั้งพื้นที่ป่าไม้ หรือลุ่มน้ำ ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณเขื่อนศรีนครินทร์ ร่วมกับ DEM เมื่อวันที่ 14 พ.ย. 2552 ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณเขื่อนศรีนครินทร์ร่วมกับ DEM เมื่อวันที่ 4 ม.ค. 2553 ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณเขื่อนศรีนครินทร์ ร่วมกับ DEM เมื่อวันที่ 4 ก.พ. 2553

ข้อมูลการวิเคราะห์แหล่งน้ำในเขื่อนศรีนครินทร์ ด้วยดาวเทียม SMMS (จากกรมทรัพยากรน้ำ) 2009/03/06 2009/04/02 2009/05/22 2009/11/10 2009/11/14 2010/01/04 2010/01/15 2010/01/19

การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับการสื่อสารโทรคมนาคม สามารถนำ ข้อมูลภาพถ่าย ดาวเทียมไปใช้ ในการวาง แผนการสร้าง ระบบสื่อสารใน หลายๆ หน่วยงาน เช่น หน่วยงานความมั่นคง TOT, CAT การรถไฟแห่งประเทศไทย การไฟฟ้า การประปา ตำแหน่งติดตั้งอุปกรณ์สื่อสาร ตัวอย่างการวางแผนการติดตั้งโครงข่ายสื่อสารตามเส้นทางรถไฟ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

การบูรณาการข้อมูล CCD ของดาวเทียม SMMS ร่วมกับข้อมูล GDEM และข้อมูล GIS พื้นฐาน การออกแบบติดตั้ง ระบบสื่อสารสำรอง การจำลอง สถานการณ์ น้ำ

ข้อมูลอ้างอิง/แนวคิด 1.ซอฟต์แวร์ KU-MET สำหรับพยากรณ์ปริมาณน้ำฝน ร่วมกับภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา และสถานีวัดน้ำฝน เงื่อนไขที่ วิธีการกรองข้อมูล ข้อมูลอ้างอิง/แนวคิด 1 ไม่มีการกรองข้อมูล - 2 IR1<253 (K) จากงานวิจัยในต่างประเทศพบว่าอุณหภูมิยอดเมฆ (BT) จากช่องสัญญาณ IR1 และ IR2 ที่มีค่าต่ำกว่า -20 oC (253 K) มีโอกาสเป็นข้อมูลของเมฆฝน 3 IR1<250 (K) เนื่องจากต้องการหาค่า Threshold ที่เหมาะสมกับประเทศไทย คณะผู้วิจัยจึงได้ทดลองใช้ค่าที่ต่ำกว่างานวิจัยที่พบ 4 IR2<253 (K) 5 IR2<250 (K) 6 IR3<250 (K) จากงานวิจัยในต่างประเทศพบว่าค่า BT จากช่องสัญญาณ IR3 ที่มีค่าต่ำกว่า -23 oC (250 K) มีโอกาสเป็นข้อมูลของเมฆฝน 7 IR3<247 (K) 8 IR1-IR2<0 (K) จากงานวิจัยในต่างประเทศพบว่า BTD จากช่องสัญญาณ IR1 และ IR2 (Split Window) ที่มีค่าต่ำกว่า 0 oC มีโอกาสเป็นข้อมูลของเมฆฝน 9 IR2-IR1<0 (K) เนื่องจากต้องการศึกษาว่าผลลัพธ์ที่ได้จากวิธีการ IR1-IR2 กับ IR2-IR1 วิธีการใดที่เหมาะสมที่สุด 10 IR1-IR3<0 (K) จากงานวิจัยในประเทศญี่ปุ่น Kurino (1996) พบว่า BTD จากช่องสัญญาณ IR1 และ IR3 ที่มีค่าต่ำกว่า 0 oC มีโอกาสเป็นข้อมูลของเมฆฝน 11 IR3-IR1<0 (K) เนื่องจากต้องการศึกษาว่าผลลัพธ์ที่ได้จากวิธีการ IR1-IR3 กับ IR3-IR1 วิธีการใดที่เหมาะสมที่สุด 2.ศึกษาเงื่อนไขและแนวคิดในการเลือกเงื่อนไขการกรองข้อมูลจากภาพถ่ายดาวเทียมเพื่อสร้างแบบจำลอง 3.การพยากรณ์ปริมาณน้ำฝน สำหรับใช้เป็นข้อมูลในการวิเคราะห์โมเดลน้ำท่วม หรือสภาวะภัยแล้ง

ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ปริมาณน้ำฝนเพื่อใช้ในภารกิจฝนหลวงเพื่อแก้ไขสภาวะภัยแล้ง HJ-1A Earth Observation Satellite Rainfall Estimation Model FY-2C/E Meteorological Satellite GSMaP Effective Rain Making Operations Drought Risk Assessment Model Drought Risk Map

Thank You for Your Attention Question?? facebook.com/SMMSThailand