แผนผังแสดงองค์ประกอบของศิลปะ หุ่นนิ่ง สิ่งของ คน สัตว์ ทิวทัศน์ การเมือง สังคม ศาสนา สงคราม เรื่องอื่นๆ ความสุข ความเศร้า ความโหดเหี้ยม ความรุ่งเรือง ความไม่สิ้นสุด ศรัทธา การต่อสู้ พลังอำนาจ ฯลฯ จุด เส้น สี น้ำหนัก รูปร่าง รูปทรง ลักษณะพื้นผิว สี ดินเหนียว หิน ไม้ กระดาษ โลหะ วัสดุอื่นๆ ระบาย ปั้น สลัก แกะ พิมพ์ เชื่อม เทคนิคอื่นๆ สุนทรียภาพ ศิลปะ อารมณ์ความรู้สึก ที่เป็นไปตาม แนวเรื่อง
ผลงานที่ นักศึกษาจะต้องส่งทำส่งในรายวิชาทฤษฏีศิลป์ ครั้งที่ 1 เรื่อง จุด , เส้น , สี ครั้งที่ 2 เรื่อง น้ำหนัก , รูปร่าง รูปทรง (มวล) , พื้นผิว ครั้งที่ 3 เรื่อง ขนาด, สัดส่วน, ทิศทาง,พื้นที่ว่าง (ความสมดุล, ความกลมกลืน, ความขัดแย้ง) ครั้งที่ 4 เรื่อง ประธาน และ รองประธาน (จุดเด่น และ จุดรอง) ทำงานเพียง 2 ชิ้นงาน ขนาดเท่ากระดาษที่แจก ครั้งที่ 5 เรื่อง สรุป ทำงานเพียง 1 ชิ้นงาน (ให้เต็มที่ 200 คะแนน) ** นักศึกษาจะต้องทำงานส่ง 2 ชิ้นงาน ต่อการส่งงาน 1 ครั้ง ** นักศึกษามีสิทธิ์ขาดงานได้ไม่เกิน 1 ครั้ง ** หากขาดเกินจะไม่พิจารณาเกรด และมีค่าเกรดเป็น F
ให้นักศึกษาทำรายงาน โดยคัดเลือกผลงานศิลปกรรม ของศิลปินที่ชื่นชอบ 3 ชิ้น (ไม่จำกัดขนาด เทคนิค) ส่งผลงานทั้งหมดใน วันศุกร์ที่ 21 กันยายน 2550 ก่อนเวลา 14.30 น.
ให้นักศึกษาทำรายงาน โดยคัดเลือกผลงานศิลปกรรม ของศิลปินที่ชื่น ชอบ 3 ชิ้น (ไม่จำกัดขนาด และ เทคนิค ของผลงาน) เขียนวิเคราะห์ ทัศนะธาตุ ต่างๆที่ปรากฏอยู่ในผลงาน เช่น จุด สี เส้น รูปทรง-รูปร่าง พื้นผิว ฯลฯ เขียนวิเคราะห์ อธิบายถึง อารมณ์ ความรู้สึก และสิ่งที่รับรู้ได้ จากผลงานชิ้นนั้น อย่างละเอียด
เช่น ชื่อศิลปิน ( ภาษาไทย-อังกฤษ ) เขียนวิเคราะห์รายงาน ให้ทำเดี่ยว โดยแบ่งออกเป็นการวิเคราะห์ทีละคน จนจบทุกรายละเอียดแล้วค่อยเริ่มใหม่ เช่น ชื่อศิลปิน ( ภาษาไทย-อังกฤษ ) เทคนิคผลงาน (จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ ฯลฯ) ขนาดผลงาน ปีที่สร้าง วิเคราะห์ผลงาน เช่น จุด. เส้น. สี. น้ำหนัก. รูปร่าง-รูปทรง...... วิเคราะห์ความงามผลงาน เช่น อารมณ์ ความรู้สึก และสิ่งที่รับรู้ ได้ จากผลงานชิ้นนั้น อย่างละเอียด เย็บเล่ม – เขียนชื่อ สกุล – รหัสนักศึกษา - คณะวิชา