ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร (ศวพก)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เกษตรกรรุ่นใหม่ และ Smart Farmer
Advertisements

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
แผนแม่บทงานวิจัย การสร้างเครือข่าย และการสนับสนุนงานวิจัยเชิงพาณิชย์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
แนวคิดการส่งเสริมปศุสัตว์ไทย
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นางสาววิไลวรรณ ดุลยพัฒน์
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหาร จัดการศูนย์บริการฯ หนึ่งตำบลหนึ่งฟาร์ม หนึ่งตำบลหนึ่งฟาร์ม ส่งเสริมการผลิตสินค้า ปลอดภัยและได้มาตรฐาน ส่งเสริมการผลิตสินค้า.
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลช้างทูน อำเภอบ่อ ไร่ จังหวัดตราด.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ทิศทางและแผนปฏิบัติงาน การวิจัยกลุ่มเกษตรยั่งยืนและชุมชนเข้มแข็ง
งานวิจัยแบบสหสาขาวิชาการ
ศูนย์นวัตกรรมการจัดการ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ระบบส่งเสริมการเกษตร
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
กระบวนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
ระบบส่งเสริมการเกษตร
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
ภาควิชาส่งเสริมและเผยแพร่การเกษตร
ภาพรวมงานวิจัยหน่วยงาน
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
ตำบลคำไฮใหญ่ อำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
การดำเนินงาน เพื่อดูแลคุณภาพ ชีวิตเกษตรกร โดย นางสาวมยุรี บุญญาเสนีย์กุล นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 5 สำนักพัฒนาเกษตรกร กรม ส่งเสริมการเกษตร.
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
กลุ่มที่ กลุ่มที่ 9 สองแคว โครงการส่งเสริม สินค้าเกษตรที่ ปลอดภัยและได้ มาตรฐาน ( ข้าว ) วิทยากรประจำกลุ่ม อ. พล ภัทร วารี ผู้ช่วยวิทยากร นาย สมชาย ชะฎาดำ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร (ศวพก) ภาพรวมผลงานวิจัยของ ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร (ศวพก) พฤกษ์ ยิบมันตะสิริ 19 พฤษภาคม 2548

เป้าหมาย สร้างระบบการผลิตอาหารที่มั่นคง ปลอดภัย มูลค่าเพิ่ม และใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน

หน่วยวิจัย เกษตรยั่งยืน ธุรกิจเกษตร ระบบสนับการตัดสินใจ

ลักษณะการทำงานวิจัย งานวิจัยที่ดำเนินการอย่างอิสระในแต่ละหน่วยวิจัย งานวิจัยที่บูรณาการระหว่างหน่วยวิจัย

เกษตรยั่งยืน แนวทางการมีส่วนร่วม ชุมชนปฏิบัติกับการจัดการความรู้ของเกษตรกร การทำงานร่วมกันขององค์กรระดับท้องถิ่น

เกษตรยั่งยืน ผลลัพธ์ที่ได้ ระบบการผลิตการผลิต การบริโภคและการตลาดพืชผักปลอดสารพิษ ยุทธ์ศาสตร์การผลิตและการตลาดของลำไย องค์ความรู้ท้องถิ่นและกลไกการทำงานร่วมกันของสถาบันท้องถิ่นในการจัดการทรัพยากรชีวภาพเพื่ออาหารและรายได้

ธุรกิจเกษตร การเสริมสร้างสมรรถนะการผลิตและการตลาดของเกษตรกรรายย่อยในการผลิตพืชผักปลอดสารพิษ การเสริมสร้างทักษะการผลิตและบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนของกลุ่มแม่บ้าน การสร้างนักวิจัยให้กับพัฒนากรในกระบวนการพัฒนาหนึ่งผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบล ความรู้ด้านการเกษตรและอาหารของผู้บริโภค (consumer literacy)

ผลลัพธ์ สร้างเครือข่ายเกษตรปลอดสารพิษ ขยายการผลิตและการตลาดเกษตรปลอดสารพิษ เพิ่มทักษะวิจัยให้กับพัฒนากรของกรมการพัฒนาชุมชน และนักวิชาการของกรมการศึกษานอกโรงเรียนในภาคเหนือตอนบน กลุ่มวิสาหกิจชุมชนได้พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตและสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่

เสริมสมรรถนะการตลาดเกษตรปลอดสารพิษ ความรู้ด้านการเกษตร และอาหารของผู้บริโภค อบรมพัฒนาชุมชน เสริมสร้างทักษะการผลิต

ระบบสนับสนุนการตัดสินใจทางเกษตร การสร้างฐานข้อมูล การพัฒนาระบบบูรณาการข้อมูลเชิงพื้นที่ (กายภาพ ชีวภาพ เศรษฐกิจ และสังคม) การพัฒนาองค์ความรู้สนับสนุนการตัดสินใจในการจัดการทรัพยากรเพื่อการเกษตรที่ระดับต่างๆ การวิเคราะห์เหตุการจำลอง

ระบบสนับสนุนการวางแผน วางแผนจัดการ ทรัพยากรแม่ฮ่องสอน ระบบสนับสนุนการวางแผน จัดการเพื่อการเกษตร และบริการ (รสทก) การเข้าถึงทรัพยากร และระบบตลาด (ลุ่มน้ำโขง) การผลิตพืชในระดับ ท้องถิ่น แบบจำลองพืช, สัตว์ปีก

ผลงานวิจัย 2548 องค์ความรู้ชุดดินไทย (ดินไทย) • ระบบสนับสนุนการวางแผน การจัดการทรัพยากรเพื่อ การเกษตรและบริการ (รสทก.) ระบบเรียกใช้ฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ทรัพยากรดินบนอินเตอร์เน็ต (ดินล้านนา - WebGIS) ระบบสนับสนุนการสำรวจดินบนที่สูง • ระบบสนับสนุนการสำรวจละการวางแผนการใช้ที่ดินบนที่สูง • ระบบเรียกใช้ข้อมูลเชิงพื้นที่เพื่อสนับสนุนแผนยุทธศาสตร์การผลิตทุเรียนและมังคุด 2547 2545 ระบบสนับสนุนการจัดเขตปลูกพืชเศรษฐกิจ "AgZone 2.0" ระบบสนับสนุนการจัดการดินปัญหา "SoilMan 1.0" • ระบบสนับสนุนการตัดสินใจการผลิตข้าว "โพสพ 1.0" 2543

ผลงานวิจัย มันไทย 1.0 อ้อยไทย 1.0 เอราวัณ 1.0 2547 MRB-Rice 2546 2545 2544 2543 เอราวัณ 1.0 Weadata 1.0 2547

ทำความรู้ ชุมชน/สังคม emergence http//:mccweb.agri.cmu.ac.th