จิตรา ณีศะนันท์ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภาษี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
SET Listing Requirements 2005
Advertisements

โครงการ ร้านชุมชน โดย เอกภาพ โครงการ ร้านชุมชน โดย เอกภาพ
กรณีที่กฎหมายกำหนดให้หักภาษี ณ ที่จ่าย
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax
ค่าของทุน The Cost of Capital
ภารกิจกำกับดูแลและตรวจสอบภาษี
การคลังและนโยบาย การคลัง
“e-Revenue” “ภาษี”เรื่องง่าย ๆ.
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
โครงสร้างภาษีประเทศไทย
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
รูปแบบและโครงสร้างของการประกอบธุรกิจเครือข่าย
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
การเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปี ( ตาม มาตรา 56 ทวิ)
ภาษีธุรกิจเฉพาะ.
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
การจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
นำเสนอโดย นางสาวนาตอนงค์ จันทร์แจ่มแจ้ง
หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ
บริษัท รวมค้าปลีกเข้มแข็งจำกัด Allied Retail Trade Co.,ltd (ART)
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสหกรณ์
บทที่ 8 นโยบายการคลัง(Fiscal Policy)
บทที่ 5 บัญชีรายได้ประชาชาติ
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. คำนิยาม ขาย สินค้า การบริการ ใบกำกับภาษี ภาษีขาย ภาษีซื้อ 2. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 3. การยกเว้น.
กฎหมายภาษีอากรตามประมวลรัษฎากรในส่วนที่เกี่ยวกับ “สหกรณ์”
หน้าที่ของสมาชิกสหกรณ์
ภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การงบประมาณ (Budget).
การจัดเก็บภาษีรถจักรยานยนต์
ความรู้เบื้องต้นเรื่องภาษี ( TAX)
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
Chapter 10 จรรยาบรรณของนักธุรกิจ
BUSINESS TAXATION ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
Good Corporate Governance
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ.2542
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
การบัญชีเพื่อการจัดการ (Managerial Accounting) BY MANATSADA
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ กฎหมาย กฎหมาย คือ ข้อบังคับ ของรัฐซึ่งกำหนดความ ประพฤติของพลเมืองไว้ ถ้าผู้ใดฝ่าฝืนจะได้รับการ ลงโทษ โดยเจ้า พนักงานของรัฐ.
สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3
เทคนิคการกำกับดูแล : Tax Mapping (แผนที่ทางภาษีอากร)
การคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3
แนวทางการวางแผนภาษีธุรกิจเฉพาะ Specific Business Tax Planning
การบริการการจัดเก็บภาษีสรรพากร
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ลักษณะของระบบบัญชี.
หน่วยที่ 13 การจัดทำรายงาน.
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
เรื่องใหม่ที่จะเกิดขึ้น
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
สำหรับกิจการ “สหกรณ์” สำนักกฎหมาย กรมสรรพากร
โครงสร้างขององค์การ.
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
ผู้จัดทำ 1.นางสาวสุพรรษา ภูพวก เลขที่19 ม.4/4
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
แนวทางการวิเคราะห์สำหรับภาษีอากร
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
การจ่ายค่าตอบแทนให้กับพนักงานขาย
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ ( ฉบับที่ 211) เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการยกเว้นภาษีเงินได้
บทที่ 7 อากรแสตมป์.
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
บทที่ 1 หลักการและโครงสร้างของภาษีอากร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จิตรา ณีศะนันท์ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภาษี โครงสร้างกฎหมายภาษี จิตรา ณีศะนันท์ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภาษี

ภาษีคืออะไร สิ่งที่รัฐบาลบังคับเก็บจากราษฎร และนำไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนรวม โดยมิได้มีสิ่งตอบแทนโดยตรงแก่ผู้เสียภาษีอากร เงินได้หรือทรัพยากรที่เคลื่อนย้ายจากภาคเอกชนไปสู่ภาครัฐบาล แต่ไม่รวมถึงการกู้ยืมหรือขายสินค้า หรือให้บริการในราคาทุนโดยรัฐบาล

วัตถุประสงค์ในการเก็บภาษีอากร เป็นการหารายได้ให้แก่รัฐบาล เป็นเครื่องมือในการกระจายรายได้ ส่งเสริมความเจริญเติบโตธุรกิจการค้า รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ช่วยควบคุมการบริโภคของประชาชน สนองนโยบายบางประการของรัฐบาล

ประเภทของภาษีอากร ภาษีสรรพากร ภาษีสรรพสามิต ภาษีศุลกากร ภาษีส่วนท้องถิ่น

ลักษณะของภาษีอากรที่ดี มีความเป็นธรรม มีความแน่นอนและชัดเจน มีความสะดวก มีประสิทธิภาพ มีความเป็นกลางทางเศรษฐกิจ สร้างรายได้ให้แก่รัฐบาล มีความยืดหยุ่น

ภาษีสรรพากร ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์

โครงสร้างภาษี หน่วยภาษี ฐานภาษี อัตราภาษี วิธีการเสียภาษี วิธีหาข้อยุติในปัญหาภาษี

หน่วยภาษี_ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ห้างหุ้นส่วนสามัญ หรือ คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล กองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง ผู้ถึงแก่ความตายในระหว่างปีภาษี

หน่วยภาษี_ ภาษีเงินได้นิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด/ บริษัทมหาชนจำกัด กิจการซึ่งดำเนินการเป็นทางการค้าหรือหากำไรโดยรัฐบาล ตปท. หรือนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ กิจการร่วมค้า (join venture) มูลนิธิ/สมาคม ที่มิใช่องค์การหรือสถานสาธารณกุศลตามประกาศรัฐมนตรีฯ นิติบุคคลอื่นที่อธิบดีฯกำหนด และได้รับอนุมัติจากรัฐมนตรีฯ

ฐานภาษี รายได้ การบริโภค ความมั่งคั่ง ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เงินได้สุทธิ ภาษีเงินได้นิติบุคคล กำไรสุทธิ

อัตราภาษี อัตราก้าวหน้า (progressive rate) อัตราคงที่ (flat rate) อัตราถอยหลัง (regressive rate)

อัตราภาษี_ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา อัตราก้าวหน้า (progressive rate) 5% - 37% 1 – 100,000 บาท 5% 100,001 – 500,000 บาท 10% 500,001 – 1,000,000 บาท 20% 1,000,001 – 4,000,000 บาท 30% 4,000,001 ขึ้นไป 37% อัตราคงที่ (flat rate) ม.40(2) – (8) ตั้งแต่ 60,000 บาท 0.5% ของเงินได้พึงประเมิน

อัตราภาษี_ภาษีเงินได้นิติบุคคล อัตราก้าวหน้า สำหรับ SME อัตราคงที่ บริษัทจำกัดทั่วไป 30% กำไรสุทธิ อัตราภาษี 1- 1,000,000 (20%) 15% 1,000,001-3,000,000 25% 3,000,001 ขึ้นไป 30%

อัตราภาษี_ภาษีเงินได้นิติบุคคล บริษัทในตลาดหลักทรัพย์ กำไรสุทธิ อัตราภาษี ก่อน 6 กันยายน 2544 1-300,000,0000 25% 300,000,001 ขึ้นไป 30% ตั้งแต่ 6 กันยายน 2544 * เป็นเวลา 5 รอบบัญชี นับแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 6 กันยายน 2544 (พรฎ. 387 พ.ศ. 2544)

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา_วิธีการเสียภาษี วิธีประเมินตนเอง (self-assessment) วิธีหักภาษี ณ ที่จ่าย (withholding/ deduction at source) Advance Tax VS Final Tax วิธีประเมินโดยเจ้าพนักงานประเมิน (authoritative assessment)

วิธีหาข้อยุติในปัญหาภาษี การอุทธรณ์ภาษี คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ศาลภาษีอากรกลาง

การบังคับให้เป็นไปตามบัญญัติของกฎหมายภาษีอากร โทษทางแพ่ง เบี้ยปรับ(penalty)และเงินเพิ่ม(interest) โทษทางอาญา โทษปรับและโทษจำคุก

การตีความกฎหมายภาษีอากร ต้องตีความโดยเคร่งครัด ต้องคำนึงถึงเจตนารมณ์ของกฎหมาย ต้องคำนึงถึงความเป็นเอกเทศของกฎหมายภาษีอากร ไม่ต้องคำนึงถึงหลักความศักดิ์สิทธิ์แห่งเจตนาเสมอ การตีความคำที่กฎหมายภาษีอากรมิได้บัญญัติไว้เป็นพิเศษ ต้องตีความตามความหมายที่เข้าใจกันอยู่ทั่วไป หรือตามที่กฎหมายที่เกี่ยวข้องได้บัญญัติไว้