Computer Programming for Engineers

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำสั่งควบคุมในโปรแกรม Interactive C
Advertisements

Suphot Sawattiwong Lab I-II Suphot Sawattiwong
CSI1201 การเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง Structured Programming
อัลกอริทึ่มทำงานวนซ้ำ
สรุปคำสั่ง if(เงื่อนไข)
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
LAB 1 ให้นักศึกษาเขียน Flowchart โดยใช้โปรแกรม Microsoft Word วาดรูป Flowchart ส่ง Flowchart ที่วาดเสร็จแล้วในชั่วโมง และ print ใส่กระดาษ ส่งในครั้งหน้า.
คำสั่ง while และ คำสั่ง do..while
การเขียนโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง (ต่อ)
Control Statement if..else switch..case for while do-while.
คำสั่งในการควบคุมโปรแกรม
บทที่ 3 ตอนที่ 1 คำสั่งเงื่อนไขและการตัดสินใจ(p
โครงสร้างควบคุมและคำสั่งแบบเงื่อนไข
Lecture no. 5 Control Statements
การควบคุมทิศทางการทำงาน
LAB # 3 Computer Programming 1
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
คำสั่งแบบเลือกทำ Week 6.
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
โครงสร้างควบคุม 1. โครงสร้างควบคุมแบบวนทางเลือก
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
คำสั่งควบคุมการทำงาน
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
ตัวอย่างการใช้คำสั่ง IF_THEN
คำสั่ง Repeat...Until คำสั่งควบคุมให้ทำงานซ้ำ
Relational Operators by Accords (IT SMART CLUB 2006) by Accords 1.
คำสั่งควบคุม (Control Statement)
คำสั่งควบคุมเงื่อนไข และการทำงานเป็นรอบ
หน่วยที่ 4: คำสั่งควบคุมโปรแกรม (Control Flow Command)
Flowchart รูปแบบ If ซ้อน If ก็คือ การเอา If ไปไว้ใน If ทางฝั่ง True  โดยโครงสร้าง If ซ้อน If นั้นเอาไว้ใช้กับ กรณีตรวจสอบเงื่อนไขที่มากกว่า 2 กรณี เพราะเนื่องจาก.
Chapter 5 คำสั่งควบคุมการทำซ้ำ
Chapter 4 คำสั่งควบคุมทิศทาง
LOGO SCCS031 Principle of Computer Programming Thinaphan Nithiyuwith Program of Computer Science & Information Technology suchada/
โครงสร้างควบคุมการทำงาน
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การใช้คำสั่งเงื่อนไขใน exel
คำสั่งลำลอง.
หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนพะเยาพิทยาคม โดย อ.วัชระ การสมพจน์
คำสั่งควบคุมการทำงานของ ActionScripts
Week 3 Flow Control in PHP
โครงสร้างข้อมูลคืออะไร ?
คำสั่งควบคุม การทำงานของโปรแกรม ในภาษา PHP
Computer Programming for Engineers
Week 5 การทำซ้ำโดย while loop และ do while loop
Week 7 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
Chapter 5 การทำซ้ำโดย while loop และ do while loop
Computer Programming for Engineers
Week 5 การทำซ้ำโดย while loop และ do while loop
Computer Programming for Engineers
Control Statements.
คำสั่งควบคุมขั้นตอน Flow control statements
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
CHAPTER 4 Control Statements
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
PHP การตรวจสอบเงื่อนไข.
อัลกอริทึ่มทำงานวนซ้ำ
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
บทที่ 7 เงื่อนไขในภาษาซี
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
คำสั่งวนซ้ำ.
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
Flowchart การเขียนผังงาน.
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web Programming) บทที่ 2: ทบทวนการเขียน ภาษา Java ใช้ร่วมกับ Html และการรับข้อมูลจาก Form.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Computer Programming การเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ สัปดาห์ที่ 6 คำสั่งควบคุมการทำงานแบบ เงื่อนไขและคำสั่งควบคุมการ ทำงานแบบวนซ้ำ.
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
PHP: [5] คำสั่งควบคุม (Control statement)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

259201 Computer Programming for Engineers Week 6 การเขียนโปรแกรม MATLAB เบื้องต้น 1

ตัดเกรดนักเรียน 5 คน จาก lab 5, เราสามารถมองส่วนที่จะถูกประมวลผล 5 ครั้งเป็นบล๊อก ส่วนที่เราต้องการทำซ้ำ เราจะนำโค๊ดไปใส่ไว้แทนที่บล๊อก for i=1:5 disp(‘Programming is fun’); end

ตัดเกรดนักเรียน 5 คน (ต่อ) for i=1:5 value = input('Input value (0-100): '); if value < 50 disp (' You got F'); elseif value < 60 disp (' You got D'); elseif value < 70 disp (' You got C'); elseif value < 80 disp (' You got B'); else disp ('You got A'); end

ตัดเกรดนักเรียน n คน จากโปรแกรมเดิม ถ้าจำนวนนักเรียนมีการเปลี่ยนแปลง เราจะต้องแก้ไขโค๊ด เพื่อให้โปรแกรมรองรับการตัดเกรดนักเรียนจำนวนที่ต่าง ๆ กันได้ เราต้องมีการรับค่าจำนวนนักเรียน (n) จากผู้ใช้ คำสั่งที่ใช้รับค่าไปเก็บไว้ในตัวแปร n คือ n = input(‘Enter a number of the students:’);

ตัดเกรดนักเรียน n คน จากโปรแกรมเดิม เราควรเพิ่มคำสั่ง input ไว้ที่ใด? 1 for i=1:5 value = input('Input value (0-100): '); if value < 50 disp (' You got F'); elseif value < 60 .... else disp ('You got A'); end 2 3 4 5 *นักศึกษาสามารถทดสอบเพิ่มคำสั่ง input ตามที่ต่าง ๆ เพื่อสังเกตุผลลัพธ์

ตัดเกรดนักเรียน n คน เราจะเห็นได้ว่า ค่า n จำเป็นจะถูกใช้เพื่อควบคุมจำนวนของการทำซ้ำ จากโปรแกรมเดิม เมื่อเราต้องการทำซ้ำ 5 ครั้ง เราจะกำหนด for i=1:5 ดังนั้น ถ้าต้องการทำซ้ำ n ครั้ง เราจะต้องเขียนว่า for i=1:n และค่า n จะต้องถูกกำหนดก่อนคำสั่ง for

ตัดเกรดนักเรียน n คน n=input(‘Enter a number of the students:’); 1 for i=1:5 value = input('Input value (0-100): '); if value < 50 disp (' You got F'); elseif value < 60 .... else disp ('You got A'); end Logical error? Where?

ตัดเกรดนักเรียนจนกว่าจะครบจำนวน ถ้าเราไม่รู้จำนวนของการทำซ้ำ เราต้องใช้คำสั่ง while-do ทบทวน while-do i=1; while i<=5 disp(‘Programming is fun’); i++; end

ตัดเกรดนักเรียนจนกว่าจะครบจำนวน while-do จะทำซ้ำไปเรื่อย ๆ จนกว่าเงื่อนไขที่ใช้ตรวจสอบจะเป็นเท็จ ตัวอย่างทบทวน condition = ‘yes’; while condition ==‘yes’ disp(‘Programming is fun’); condition = input(‘Continue [yes/no] ?’,’s’); end ค่าเริ่มต้น ต้องทำให้โปรแกรมสามารถเข้าไปทำใน while-do ได้ เงื่อนไข จะทำใน while-do ถ้าเงื่อนไขเป็นจริง ทำซ้ำเรื่อย ๆ ถ้าเงื่อนไขยังเป็นจริง ถ้าไม่มีคำสั่งนี้ โปรแกรมจะทำงานอย่างไร?

ตัดเกรดนักเรียนจนกว่าจะครบจำนวน เมื่อพิจารณาการตัดเกรดนักเรียนจนกว่าจะครบจำนวนอีกครั้ง เราจะได้โค๊ดในลักษณะดังต่อไปนี้ condition = ‘yes’; while condition ==‘yes’ value = input('Input value (50-80): '); if value < 50 disp (' You got F'); elseif value < 60 .... else disp ('You got A'); end condition = input(‘Continue [yes/no] ?’,’s’);

นับจำนวนนักเรียน ถ้าเราต้องการนับจำนวนนักเรียนที่ได้รับการตัดเกรดไปแล้วสำหรับการทำซ้ำแบบ while-do? นอกจากนั้นเรายังต้องการแสดงผลสรุปจำนวนนักเรียนที่ได้รับการตัดเกรดทั้งหมดอีกด้วย? เราต้องสร้างตัวแปรขึ้นมาเพื่อเก็บจำนวนดังกล่าว (n) ค่าเริ่มต้นของตัวแปรนี้จะต้องเป็น 0 (n=0) เมื่อมีการตัดเกรดนักเรียนเสร็จ 1 คน ค่าของตัวแปรนี้จะต้องถูกเพิ่มค่าขึ้น ทีละหนึ่ง (n=n+1) เมื่อเสร็จสิ้นการตัดเกรดของนักเรียนทั้งหมด (ผู้ใช้เลือก continue เป็น no) เราแสดงผลสรุปจำนวนนักเรียน (fprintf(‘Number of the students is: %d\n’,n);) เราควรจะเพิ่มคำสั่งทั้งสองคำสั่งนี้ไว้ที่ส่วนใดในโปรแกรม?

นับจำนวนนักเรียน n=0; condition = ‘yes’; while condition ==‘yes’ value = input('Input value (0-100): '); if value < 50 disp (' You got F'); elseif value < 60 .... else disp ('You got A'); end n=n+1; condition = input(‘Continue [yes/no] ?’,’s’); fprintf(‘Number of the students is: %d\n’,n);

แบบฝึกหัด: ตัดเกรดนักเรียนจนกว่าจะครบจำนวน และนับจำนวนเกรด A ด้วย เราต้องมีการสร้างตัวแปรขึ้นเพื่อเก็บจำนวนนักเรียนที่ได้เกรด A (grade_A) ค่าเริ่มต้นของโปรแกรมดังกล่าว จะต้องมีค่าเป็น 0 (grade_A=0;) จากนั้นทุก ๆ ครั้งที่มีนักเรียนได้รับเกรด A ค่าตัวแปรนี้จะต้องถูกเพิ่มค่าขึ้นหนึ่ง (grade_A = grade_A + 1;) คำสั่งสองคำสั่งนี้ ควรถูกเพิ่มตรงส่วนใดของโปรแกรม? นอกจากนั้น โปรแกรมจะแสดงข้อความแสดงความยินดี (disp(‘You did it!!’);) ถ้าจำนวนนักเรียนที่ได้เกรด A มากกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนนักเรียนทั้งหมด เงื่อนไขนี้เขียนอย่างไร และควรจะถูกเพิ่มในส่วนใด?