ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
Advertisements

ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายได้ดีในน้ำ
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
การถนอมอาหาร.
หน่วยประปา เรื่อง การควบคุมคุณภาพน้ำอุปโภค/บริโภค
หลักสำคัญในการล้างมือ
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
สารฟอกขาวในถั่วงอก โครงงานสุขภาพ เสนอ ดร. สุมน คณานิตย์
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคท้องเสีย จัดทำโดย ด.ญ.จุฬารัตน์ น้อยจาด เลขที่ 7 ม.1/4
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
จับประเด็นเตรียมพร้อมสู่HA
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะนิวโทรฟีเนีย
อาจารย์วีระศักดิ์ สืบเสาะ
ขวดแชมพู รายวิชา เทคโนโลยีพลาสติกอุตสาหกรรม
โครงการ น้ำดื่มสะอาดปลอดภัย ในโรงเรียน
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ
แนวทางการจัดสรรงบประมาณการดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ปีงบประมาณ 2555
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
การสำรวจข้อมูลตามโครงการเฝ้าระวัง ภาวะขาดไอโอดีนแบบบูรณาการ ปี 57
เลือดออก ไข้ haemorrhagic fever โรคไข้เลือดออกคืออะไร
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
“ ถุงมือ สะดวกใช้ – สบายใจ ผู้ตรวจ เพื่อลดการปนเปื้อน ”
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร
โรคอุจจาระร่วง.
เครื่องปั่นน้ำผลไม้.
เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า.
ไดร์เป่าผม.
การบริหารยาทางฝอยละออง
โรคอุบัติใหม่ – อุบัติซ้ำ (Emerging Disease – Re-Emerging Disease)
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
โซเดียมไทโอไนต์ หรือ โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ สารห้ามใช้
นวัตกรรม ถุงประคบมือถือ
นวัตกรรม ของ งานจ่ายกลาง และงานซ่อมบำรุง ปี 2552
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
และความเป็นกรด-ด่างของดิน
การทำแผลชนิดแห้ง( Dry dressing )
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับร้านอาหาร
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
อาหารเป็นพิษ จังหวัดเชียงใหม่
กลุ่ม 5 ชื่อกลุ่ม ; วายร้าย
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
มาตรฐานการสุขาภิบาลอาหาร สำหรับโรงอาหาร
“เอ็น (N) พี (P) และ เค (K)”
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับแผงลอยจำหน่ายอาหาร
2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอ 3. แนวทางการเฝ้าระวัง ภาวะแทรกซ้อนจากการบริจาค 1. การคัดกรองผู้บริจาคโลหิต 4. ความพร้อมในการช่วยเหลือ.
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
ใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆ...
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
บทที่ 6 เกร็ดความรู้เกี่ยวกับอาหาร และเครื่องดื่ม
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
การล้างมือ (hand washing)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ ชุดทดสอบความสะอาด ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ

การดูแลคุณภาพอาหารด้วยตนเอง ภาชนะบรรจุอาหารและมือผู้สัมผัสอาหาร ที่ไม่สะอาดมีเชื้อโรคปะปน เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดโรคทางเดินอาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์จึงได้พัฒนาชุดทดสอบความสะอาดของภาชนะสัมผัสอาหารและมือผู้สัมผัสอาหารขึ้น เพื่อให้สามารถนำไปตรวจสอบความสะอาดของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือผู้สัมผัสอาหาร นอกห้องปฏิบัติการได้

ผลกระทบต่อสุขภาพ ถ้ารับประทานอาหารที่สัมผัสมือหรือภาชนะที่ไม่สะอาดอาจทำให้เกิดโรคท้องร่วง ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน เป็นไข้ หรือปวดศีรษะได้ ผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงอาจถึงตายได้

ตัวอย่างเป้าหมาย อุปกรณ์หรือภาชนะที่สัมผัสอาหาร ( ช้อน แก้วน้ำ ตะเกียบ เขียง เป็นต้น ) มือผู้สัมผัสอาหาร อาหารพร้อมบริโภค ( หาบเร่ แผงลอย ร้านอาหาร )

ประโยชน์ของชุดทดสอบ ชุดทดสอบความสะอาดนี้ใช้ตรวจสอบเบื้องต้นว่า ภาชนะบรรจุอาหารหรือมือผู้สัมผัสอาหาร หรืออาหารที่มีการปนเปื้อนของเชื้อโรคที่อาจทำให้ผู้บริโภคเกิดเจ็บป่วยหรือไม่ เพื่อลดความเสี่ยงของการเกิดโรคอาหารเป็นพิษ

จำนวนตัวอย่างที่ตรวจได้ 10 ตัวอย่าง /ชุด ราคา ชุดละ 200 บาท

อุปกรณ์ชุดทดสอบ ชุดทดสอบ 1 กล่องประกอบด้วย สำลีชุบแอลกอฮอล์สำหรับเช็ดมือผู้ตรวจสอบ 1 ชุด ไม้พัน สำลีปราศจากเชื้อ 10 อัน น้ำยาทดสอบ 10 ขวด คู่มือการใช้ชุดทดสอบ 1 แผ่น

วิธีการทดสอบ 1. ผู้ตรวจสอบเช็ดมือตนเองด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์

2. ฉีกซองไม้พันสำลีด้านที่ไม่มีสำลี นำไม้พันสำลีไปจุ่มลง ในน้ำยาทดสอบให้หมาดๆ

3. ไม้พันสำลีจากข้อ 2ไปเช็ดภาชนะสัมผัสอาหาร , มือ , อาหาร ( หนึ่งไม้ / หนึ่งตัวอย่าง ) ด้วยวิธีดังนี้ 3.1 มือผู้บริการ-หงายฝ่ามือขึ้นเช็ดรอบนิ้วจากปลายนิ้ว ถึงข้อที่ 2 ส่วนหัวแม่มือเช็ดถึงข้อที่ 1 มือ 1 มือ / ตัวอย่าง

3.2 แก้วน้ำ-เช็ดจากขอบบนลงมาครึ่งนิ้วทั้งภายนอกและ ภายใน

3.3 จาน , ชาม – เช็ดกลางภาชนะด้านในให้ได้พื้นที่ สี่เหลี่ยมขนาด 2 x 2 ตารางนิ้ว ภาชนะ 5 ชิ้น / ตัวอย่าง

3.4 อาหาร-ป้ายอาหารบางส่วนรอบสำลีที่ปลายไม้

4. ใส่ไม้พันสำลีลงในขวดน้ำยาทดสอบเดิมแล้วหักไม้ให้ สูงไม่เกินปากขวด

5.ปิดฝาให้สนิท แล้วตั้งทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้องนาน 3 วัน

สังเกตน้ำยาในขวดทดสอบ การประเมินผล สังเกตน้ำยาในขวดทดสอบ ระดับ C ไม่มีตะกอนดำ ระดับ +1 มีตะกอนดำที่ปลายสำลี ระดับ +2 มีสีดำกระจายทั่วขวด แต่ยังมองเห็นสำลี ระดับ +3 มีสีดำเข้มมองไม่เห็นสำลี

เกณฑ์การตัดสินความสะอาด ระดับความสะอาด ตัวอย่าง C +1 +2 +3 ภาชนะ และมือ / x x x อาหาร / / / x / ผ่าน x ไม่ผ่าน หมายเหตุ หลังทดสอบ 1-2 วัน ถ้าน้ำยาทดสอบเปลี่ยนแปลงเป็นระดับ +3 แล้วก็ประเมินผลได้เลย ไม่ต้องรอจนครบ 3 วัน

การปฏิบัติเมื่อใช้ชุดทดสอบความสะอาดเสร็จแล้ว ขวดใส่น้ำยาทดสอบจะมีเชื้อโรคอยู่ ดังนั้นเมื่ออ่านผลแล้วให้เปิดฝาขวด แล้วต้มขวดและฝาในหม้อน้ำเดือด ประมาณ 15 นาที ก่อนที่จะเททิ้ง

การเก็บรักษาชุดทดสอบ/อายุการใช้งาน ข้อควรระวัง อย่าวางชุดทดสอบไว้ใกล้มือเด็ก การเก็บรักษาชุดทดสอบ/อายุการใช้งาน เก็บในตู้เย็น/ 6 เดือน เก็บที่อุณหภูมิห้อง/ 2 เดือน

แนวทางแก้ปัญหาเมื่อตรวจพบว่าภาชนะ ใส่อาหาร มือหรืออาหารไม่สะอาด ควรเพิ่มความระมัดระวังในการล้างภาชนะให้สะอาดยิ่งขึ้น ล้างมือให้สะอาดก่อนหยิบจับอาหาร หรือก่อนปรุงอาหาร แนะนำผู้ที่ขายอาหาร หรือเจ้าของร้านให้ระมัดระวัง ความ สะอาดให้มากขึ้น ทั้งภาชนะใส่อาหาร มือผู้หยิบจับอาหาร หรืออาหารที่ปรุงขาย