การวัดการเกิดโรค พ.ท. ผศ.ราม รังสินธุ์ พ.บ. ส.ม. DrPH

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
Advertisements

ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
Burden of Disease Thailand, 2009
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
รายงานบาดเจ็บอุบัติเหตุจราจร ปี 2551
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
สุขภาพสัตว์และการอนามัย
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
PNEUMONIA UNDER FIVE YEAR IN BUDDHACHINARAJ HOSPITAL
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
ความสำเร็จของนโยบายการวางแผนประชากรที่ทำให้อัตราเจริญพันธุ์ลดลง
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
รายงานในระบบบัญชีแยกประเภททั่วไป (GL – General Ledger)
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
นสพ. วารี จุลเกตุ รหัส นสพ. วีรพรรณ ปรางค์เจริญ รหัส
การแจกแจงปกติ.
ไข้เลือดออก.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
การวัดทางระบาดวิทยา น.ส.วิภาวี ธรรมจำรัส.
ระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
กรอบการพัฒนาตัวชี้วัด
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ธันวาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
สาขาโรคมะเร็ง.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน มีนาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
ณัชช์ธรณ์ หอมกลิ่นเทียน
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
แผนการดำเนินงาน 15 โครงการหลัก ปีงบประมาณ 2558
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทาง ระบาดวิทยา 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง.
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
Model development of TB active case finding in people with diabetes.
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา
การวัดทางระบาดและดัชนีอนามัย
อ.จงกล โพธิ์แดง ภาควิชาระบาดวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.มหิดล 2559
สถิติกับดัชนีการวัด... ในงานระบาดวิทยา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวัดการเกิดโรค พ.ท. ผศ.ราม รังสินธุ์ พ.บ. ส.ม. DrPH ภาควิชาเวชศาสตร์ทหารและชุมชน วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า

คำถามการวิจัย 2 ระดับ ขนาดของปัญหา ความชุกของโรคความดันสูงในประชากร มีจำนวนประชากรกี่คนที่ไม่ได้รับการบริการทางแพทย์ที่เหมาะสม ความสำพันธ์ของปัจจัยต่อการเกิดปัญหา การเกิดโรคความดันสูงสัมพันธ์กับระดับการศึกษาหรือไม่? ผู้ที่ไม่ได้รับบริการทางการแพทย์ที่เหมาะสมมีความสัมพันธ์กับ ท้องถิ่นที่อาศัยอยู่?

คำถามการวิจัย 2 ระดับ : การวัด ขนาดของปัญหา (วัดการเกิดโรค) ความชุก Prevalence อุบัติการ Incidence ความสำพันธ์ของปัจจัยต่อการเกิดปัญหา (วัดขนาดของความสัมพันธ์) Relative Risk ====> Cohort Study Odds Ratio ====> Case-Control Study Prevalence Rate Ratio ====> Cross-Sectional Study

การวัดการเกิดโรค อุบัติการ Incidence ความชุก Prevalence

การวัดการเกิดโรค

การดำเนินโรค ป้องกันตรงไหน – ป้องกันอะไร ผลการักษา หาย คุมอาการได้ พิการ ตาย แข็งแรงดี Symptoms Diagnosis Disease Onset Seek Care Treatment ป้องกันตรงไหน – ป้องกันอะไร

Clinical & Sub-clinical โรคแสดงอาการ Symptomatic โรคไม่แสดงอาการ Asymptomatic

การดำเนินโรคและระดับของการป้องกันโรค ปฐมภูมิ Primary Prevention สร้างเสริมสุขภาพ การให้วัคซีน ทุติยภูมิ Secondary Prevention ตติยภูมิ Tertiary Prevention Stage of Susceptibility Stage of Subclinical Stage of Clinical Stage of Recovery Disability or death ยังไม่เกิดโรค เกิดโรคแล้ว

การป้องกันโรค ระดับปฐมภูมิ Primary Prevention ควบคุมปัจจัยเสี่ยง การรณรงค์เลิกสูบบุหรี่, การให้วัคซีนในเด็ก ระดับทุติยภูมิ Secondary Prevention ลดความเสียหายจากการเกิดโรคโดยการให้การรักษาตั้งแต่ระยะที่โรคเริ่มต้น early diagnosis and treatment การตรวจนะเร็งปากมดลูกในสตรี

การป้องกันโรค ระดับตติยภูมิ Tertiary Prevention ลดภาวะแทรกซ้อนของการเกิดโรค การให้การฟื้นฟูสภาพหลังการเกิดอัมพาต

การให้คำจำกัดความของโรค Disease Definitions ระบุให้ชัดเจน ว่า อะไรจะนับว่าเกิดโรคที่สนใจ คำจำกัดความของโรค ค่าทางห้องปฏิบัติการ อาการ; Major and Minor criteria การวินิจฉัยของแพทย์ในประวัติทางการแพทย์ ICD10

การวัดความถี่ของการเกิดโรค อัตราส่วน Ratio ความสัมพันธ์ระหว่าง จำนวน 2 จำนวน ตัวตั้งไม่ได้รวมอยู่ในตัวหาร ตัวอย่าง: อัตราส่วนระหว่างผู้ป่วยชาย หญิง = 1:1

การวัดความถี่ของการเกิดโรค สัดส่วน Proportion อัตราส่วนที่ตัวตั้งเป็นส่วนหนึ่งของตัวหาร มักแสดงเป็นร้อยละ สัดส่วนของการบาดเจ็บการจราจรที่เกิดจากมอเตอร์ไซค์เท่ากับร้อยละ 81 ของการบาดเจ็บจากการจราจรทั้งหมด

ประเภทยานพาหนะของผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุขนส่ง ระบบเฝ้าระวังการบาดเจ็บ พ.ศ.2545 รถจักรยานยนต์ (48,723 คน 81 %) แหล่งข้อมูล : 21 โรงพยาบาลเครือข่ายเฝ้าระวังการบาดเจ็บ

การวัดความถี่ของการเกิดโรค อัตรา Rate (มี 2 นัย) ตัวตั้งเป็นส่วนหนึ่งของตัวหาร อัตราการบาดเจ็บจากการจราจรในพื้นที่เขต 3 เท่ากับ 81 ต่อแสนประชากร เป็นเรื่องที่มีมิติของเวลามาเกี่ยวข้อง อัตราอุบัติการณ์ของการติดเชื้อ HIV ในประชากรไทยช่วง 1995 -1999 เท่ากับ 0.3 ต่อ 100 person-years

อัตราการบาดเจ็บในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2546 จำแนกตามรายเขต จำนวนบาดเจ็บ ประชากร อัตราต่อแสน เขต 3 3,138 3,866,851 81.15 เขต2 2,024 2,975,279 68.03 เขต 11 2,614 3,878,053 67.40 เขต 6 4,384 7,273,836 60.27 เขต 10 2,834 4,755,177 59.60 เขต 7 3,772 6,436,366 58.60

อัตราการบาดเจ็บในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2546 จำแนกตามรายเขต จำนวนบาดเจ็บ ประชากร อัตราต่อแสน เขต 5 4,232 7,428,912 56.97 เขต 4 2,171 3,903,547 55.62 เขต 9 2,123 3,842,962 55.24 เขต 8 1,792 3,257,458 55.01 เขต 1 1,558 3,503,418 44.47 เขต 12 1,809 4,296,086 42.11

Ratio A fraction with no specified relationship between numerator and denominator Range: 0 to  A/B Examples Sex ratio (M:F) Fetal death ratio

Proportion Numerator included in denominator May be expressed as percentage Range: 0 to 1 A/(A+B) Example Prevalence (always a proportion)

Rate A special type of proportion Unit of time in denominator A/(A+B) per time interval Common to use the population as the denominator New case per person time

การวัดการเกิดโรค รู้จัก การวัดพื้นฐาน ของการเกิดโรค ; อุบัติการ และความชุก Incidence & Prevalence

Indices of Morbidity Incidence = New cases Prevalence = New and Pre-existing cases

Death Cured 1994 1996 JAN 1995 MAY 1995 JUL 1995 SEP 1995 DEC 1995

Point Prevalence at July 1995 = ? Death Cured 1994 1996 JAN 1995 MAY 1995 JUL 1995 SEP 1995 DEC 1995 Incidence in 1995 = ? Point Prevalence at July 1995 = ? 2 4

Baseline Prevalence

Incidence Increased Prevalence Baseline Prevalence

Baseline Prevalence Decreased Prevalence Deaths Cures

Incidence Prevalence Deaths Cures

อัตรา เครื่องมือที่ใช้ในระบาดวิทยาที่สำคัญคือการเปรียบเทียบอัตรา อัตรา (Rate) = ตัวตั้ง ตัวหาร อัตราตาย (Mortality Rate) ความชุก (Prevalence) อุบัติการ (Incidence)

การวัด อุบัติการของการเกิดโรค มี 2 แนวทางในการวัด 1) อุบัติการสะสม Cumulative incidence = จำนวนผู้ป่วยรายใหม่ในช่วงเวลาที่กำหนด ประชากรที่เสี่ยงในช่วงเวลานั้น = 40 = 1.25 /1,000 32,000 X 10(n)

การวัด อุบัติการของการเกิดโรค 2) อัตราอุบัติการ (Incidence density or Incidence rate ) การเพิ่ม “มิติของเวลา” ลงไปในตัวหาร “Person-time” Person-month, Person-year 1 Person-year = Following 1 person for 1 year period 10 Person-year = Following 1 person for 10 year period = Following 10 persons for 1 year period

การวัด อุบัติการของการเกิดโรค 2) อัตราอุบัติการ Incidence density or Incidence rate = จำนวนผู้ป่วยรายใหม่ในช่วงเวลาที่กำหนด จำนวน Person-years of ของการติดตามในช่วงไม่เกิดโรค หากติดตามคน 100 คนในเวลา 1 ปีและพบว่า 20 คนเกิดโรค อัตราอุบัติการคือ 20 cases/100 person-years การติดตาม 20 = 20 / 100 person-years 100 person-years X 10(n)

ความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี่กับอุบัติการ การเกิดอัมพาต ของประชากร 118,539 คนในเวลา 8 ปี Smoking No. of stroke Person-years Incidence rate of observation /100,000 person-years Never 70 395,594 17.7 Ex-smoker 65 232,712 27.9 Smoker 139 280,141 49.6 Total 274 908,477 30.2

Database of 118,539 subjects ID Age Smoking Stroke Enter Last Contact Person-Year 1 18 No 1990 1998 8 2 36 1992 3 50 Yes 1991 7 . 118,539 24 1993 5 Total 908,477

ความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี่กับอุบัติการการเกิดอัมพาต ของประชากร 118,539 คนในเวลา 8 ปี Smoking No. of stroke Person-years Incidence rate of observation /100,000 person-years Never 70 395,594 17.7 Ex-smoker 65 232,712 27.9 Smoker 139 280,141 49.6 Total 274 908,477 30.2 Cumulative incidence = 274 / 118,539 = 2.31 / 1,000

ความหมาย ความชุก Prevalence : ความน่าจะเป็นที่บุคคลจะเป็นผู้ป่วยในช่วงเวลาที่สนใจ อุบัติการ Incidence : ความน่าจะเป็น หรือความเสี่ยงที่บุคคลที่แข็งแรงดีจะเกิดการป่วยขึ้นมาในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง

Meaning Prevalence of HIV infection in Thai people = 1.5% ~ 1 million people Prevalence: Planing for health services Incidence of HIV in Thailand = 0.2 % per year in 1999 Incidence: Risk of an individual developing a disease during period of time

Did those who use condom regularly have lower risk for getting HIV infection than those who did not use regularly ? Risk Factor of interest = Reported condom use during the last 12 months Outcome (Disease Occurrence) - Prevalence of AIDS case during the last 12 months - Prevalence of HIV infection during the last 12 months - Incidence of AIDS case during the last 12 months - Incidence of HIV infection during the last 12 months

Standardized Mortality Ratio Indirect Age Adjustment (Standardized Mortality Ratio) Observed # of Deaths per Year SMR = ---------------------------------------- X 100 Expected # of Deaths per Year

Standardized Mortality Ratio The SMR permits one to determine whether a death rate for one group is greater than another. If the SMR for teachers is 105 and the SMR for nurses is 120, we can conclude that 1. NURSES have a higher mortality than teachers, and 2. Both teachers and nurses have a higher mortality than the general population (since both are greater than 100)

Standardized Mortality Ratio Standardized Mortality Ratio (SMR) = (Observed Deaths / Expected Deaths)X100 SMR = (481 / 430.98)X100 = 112