โครงการสร้างความร่วมมือ ภาคีเครือข่ายในการพัฒนา รูปแบบการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 2
ที่ มา วิเคราะห์ปัญหา ในพื้นที่ จัดทำแผนการ ดำเนินงาน ความสำคัญของการมีส่วนร่วม จากภาคส่วนต่างๆ กระบวนการ สร้างการมีส่วน ร่วม : ชุมชนนัก ปฏิบัติ (CoP) ให้เกิดการมีส่วนร่วมที่ ยั่งยืน
วัตถุประสงค์ 3. เพื่อมีรูปแบบในการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพโดย ความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย 1. เพื่อสร้างและพัฒนาภาคีเครือข่ายในการ เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ จากภาคส่วนต่างๆได้แก่ สื่อมวลชน องค์การ บริหารส่วนท้องถิ่น / เทศบาล ปศุสัตว์ จังหวัด / ปศุสัตว์อำเภอ สาธารณสุข จังหวัด /CUP สถานศึกษา เจ้าหน้าที่ตำรวจ และสรรพสามิตจังหวัด 2. เพื่อให้ระดับท้องถิ่นสามารถวิเคราะห์ สภาพปัญหาการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคและภัยสุขภาพในพื้นที่
สถานการณ์โรคที่เป็น ปัญหาในพื้นที่ โรคจังหวัด อาหารเป็น พิษ วัณโรค เรื้อน โรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ มาลาเรีย สุโขทัย เพชรบูร ณ์ ตาก พิษณุโลก อุตรดิต ถ์
สาธาร ณสุข ปศุ สัตว์ ศึกษา สคร.9 NGO ท้องถิ่น ตำรวจ / สรรพสามิ ต - หา Best Practice ที่มีอยู่ - วิเคราะห์ - สถานการณ์ Action Learning - Mini Project - เรียนรู้จาก สถานการณ์ สมมุติ / ผลผล - เครือข่า ย - แบบ บูรณาการ - CoP -KM = Best Practice - ถอด บทเรียน - สังเคราะห์ - Sharing knowledge กรอบ แนวคิด สถานการ ณ์จริง เครือข่าย จังหวัด เครือข่าย ENOCC เครือข่าย เอดส์ เครือข่าย NCD
เป้าหมายในการ ดำเนินงาน วิเคราะห์ปัญหา ในพื้นที่ ชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) แผนปฏิบัติการรองรับ ภาวะฉุกเฉิน
กลุ่มเป้า หมาย 1. สื่อมวลชนท้องถิ่นทุกสาขา ได้แก่ วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ และหอ กระจายข่าว 2. องค์การบริหารส่วนจังหวัด / องค์การบริหารส่วนตำบล / เทศบาล 3. ปศุสัตว์จังหวัด / ปศุสัตว์อำเภอ 4. สำนักงานสาธารณสุข จังหวัด /CUP 5. สถานศึกษา 6. เจ้าหน้าที่ตำรวจ 7. สรรพสามิต
วิธีดำเนิ นการ 1. วิเคราะห์สภาพปัญหา 2. จัดกระบวนการชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) 3. จัดประชุมสรุปบทเรียน จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างภาคี เครือข่าย เพื่อวิเคราะห์ปัญหาด้านการ ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพใน พื้นที่ โดยจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้จาก สถานการณ์สมมุติในแต่ละระดับความ รุนแรงของโรคเพื่อทำแผน / แนวทางการ ดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคร่วมกัน ( สอง เดือนต่อหนึ่งครั้ง ) สรุปบทเรียน จาก CoP รวบรวมเป็น รูปแบบ / แนวทางในการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
กิจกรรม 2550 งบประมา ณ ( บาท ) ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มีค. เมย. พค. มิย. กค. สค. กย. 1. เสนอโครงการ 2. รวบรวมข้อมูลและ เตรียมเนื้อหา 3. วิเคราะห์สภาพ ปัญหา - จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้เพื่อวิเคราะห์ปัญหา ในพื้นที่ และรับการ ถ่ายทอดนโยบายสู่ แนวทางปฏิบัติ กำหนด ข้อตกลงร่วมของเครือข่าย ในการเข้าร่วมกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 250, กระบวนการชุมชนนัก ปฏิบัติ (CoP) - จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้จากสถานการณ สมมุติ (2 เดือนต่อครั้ง ) 187, , จัดประชุมสรุป บทเรียน 188, สรุปผลโครงการ กิจกรรมและระยะเวลา ดำเนินการ
1. มีแผนการเตรียมพร้อมรับภาวะ ฉุกเฉินและการระบาดของโรค เฉียบพลันในระดับพื้นที่ ผลประโยชน์ที่จะได้รับ 2. มีรูปแบบและกลไกความร่วมมือ ของเครือข่ายในการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 3. มีชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) ด้านการเฝ้า ระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ความ เสี่ยง 1. จำนวนผู้เข้าร่วมกระบวนการชุมชน นักปฏิบัติมาไม่ครบตามจำนวนที่ตั้ง ไว้ 2. ผู้เข้าร่วมชุมชนนักปฏิบัติไม่ใช่คนเดิม