ที่มาของโครงการ ตลอดเวลา 21 ปีที่ผ่านมาทีมงาน " รัก ลูก " ได้ดำเนินงานด้านการให้ความรู้ในเรื่อง ของครอบครัวผ่านสื่อและกิจกรรมในรูปแบบ ต่างๆ แต่ด้วยที่การดำเนินงานส่วนใหญ่ยัง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
Advertisements

วัตถุประสงค์ พัฒนาองค์ความรู้การดำเนินงาน คบส.ให้กับ อสม. และเครือข่ายในชุมชน เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายชุมชนที่ดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชุมชน.
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน บ้านดินน่าอยู่
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
สรุปโครงการสร้างสัมพันธ์รักครอบครัว
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดปราจีนบุรี
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โครงการพัตนาสุขภาพจิตครอบครัว
โครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย ปี 2551
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
จังหวะก้าวงานสร้างสุข ๓ ปี
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
บุญเรือง ขาวนวล คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สกลนครโมเดล.
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ที่มาของโครงการ ตลอดเวลา 21 ปีที่ผ่านมาทีมงาน " รัก ลูก " ได้ดำเนินงานด้านการให้ความรู้ในเรื่อง ของครอบครัวผ่านสื่อและกิจกรรมในรูปแบบ ต่างๆ แต่ด้วยที่การดำเนินงานส่วนใหญ่ยัง จำกัดอยู่แต่ในกรุงเทพ หรือจังหวัดใหญ่ๆ เท่านั้น จึงทำให้การเรียนรู้เรื่องครอบครัวไม่ ขยายครอบคลุมไปยังกลุ่มพ่อแม่ ทั่ว ประเทศ ทางสถาบันครอบครัวรักลูก ในเครือ บริษัท รักลูก แฟมิลี่กรุ๊ป จำกัด จึงได้ ดำเนินการจัดทำ " โครงการสร้างเสริม ศักยภาพการเรียนรู้เพื่อครอบครัวเข้มแข็ง " ( โครงการครอบครัวเข้มแข็ง ) โดยได้รับการ สนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ ( สสส.)

วัตถุประสงค์โครงการ 1. เพื่อสร้างเวทีพัฒนาความรู้ความเข้าใจของ พ่อแม่กลุ่มต่างๆ - การเข้าใจสภาพของครอบครัว - การเข้าใจถึงความสัมพันธ์สามี - ภรรยา - การเข้าใจถึงหลักคิดและจิตวิทยาการพัฒนา เด็ก 2. เพื่อผลักดันการสร้างแผนพัฒนาเด็กและ ครอบครัวของชุมชนในระดับต่างๆ 3. สังเคราะห์ความรู้ในการใช้ภูมิปัญญา สร้าง การเรียนรู้ของครอบครัวแบบไทย เพื่อนำไปใช้ขยายผลในชุมชนอื่นๆ ต่อไป

วัตถุประสงค์โครงการ 4. พัฒนาแกนนำด้านครอบครัว 5. เพื่อสร้างและพัฒนาเครือข่ายเชื่อมโยง ชุมชนที่มีการเรียนรู้และปฏิบัติ ตามแผนของตนเอง 6. เชื่อมโยงกับแนวทางภาครัฐในการนำเอา รูปแบบ การจัดการเรียนรู้ของ ครอบครัวในชุมชนของโครงการฯ ไป พัฒนาต่อในงานด้านครอบครัว ของภาครัฐต่อไป

พื้นที่ดำเนินงาน 4 เดือนก่อนเริ่มโครงการฯ ทีมงานได้ลงพื้นที่ สำรวจความเป็นไปได้ในการดำเนินการ ทั้งหมด 12 จังหวัด และในปีแรกของการ ดำเนินโครงการฯ ได้คัดเลือกจังหวัดที่มี ความพร้อมในการทำโครงการ 8 จังหวัด ได้แก่ ลำปาง น่าน พะเยา สุราษฎร์ธานี พัทลุง ตรัง กาฬสินธุ์ สุรินทร์

การดำเนินงาน จัดอบรมวิทยากรกระบวนการด้านการพัฒนา ครอบครัว เพื่อสร้างการเรียนรู้ในเนื้อหาเวที ครอบครัวเข้มแข็ง ซึ่งประกอบด้วย 4 ส่วน สำคัญดังนี้

สนับสนุนการจัดเวที - กิจกรรมการเรียนรู้ จัดรายการวิทยุในจังหวัด จัดตั้งศูนย์ข้อมูล - สื่อ ( arning.com)

ศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ 1. งานวิจัยประเมินผล 2. งานวิจัยเชิงปฏิบัติการ 3. POLL เพื่อสำรวจความคิดเห็น

ผลที่คิดว่าจะได้รับ 1. เกิดการพัฒนาการความรู้ ปรับกระบวนทัศน์อย่าง ทั่วด้าน 2. ได้แผนกิจกรรมและนโยบายด้านครอบครัวใน ระดับจังหวัด อบต./ เทศบาล และชุมชน ที่ สอดคล้องกับความต้องการของครอบครัว 3. พื้นที่ดำเนินงานทั้ง 8 จังหวัด เกิดกระแสตื่นตัวที่ มีพลัง บนพื้นฐานของความรู้และความปิติในการ ทำงานด้านเด็กและครอบครัว 4. เกิดความงอกงามเติบโตขององค์ความรู้และภูมิ ปัญญาการพัฒนาเด็กและครอบครัว 5. เกิดเครือข่ายต่างๆ ที่เข้มแข็ง 6. นำไปสู่การเตรียมตัวและขยายผลในปีที่ ในขอบข่ายที่กว้างขึ้นต่อไป

แวดวงครอบครัวเข้มแข็ง ลด ละ เลิก เหล้า ที่บ้านสมบูรณ์ ชุมชนบ้านสมบูรณ์ ต. กุดหวาย อ. ศรีขรภูมิ จ. สุรินทร์ เป็นชุมชนหนึ่ง ที่ได้เข้าร่วมโครงการ ครอบครัวเข้มแข็งตั้งแต่ปี พ. ศ ได้จัดเวที สร้างการเรียนรู้ครอบครัวร่วมกัน ตั้งแต่ในเรื่อง เนื้อหา หลักคิด คุณธรรม สายสัมพันธ์ใน ครอบครัว การพัฒนาการเด็กในแต่ละช่วงวัย ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลครอบครัว ตลอดจน กิจกรรมเวทีเรียนรู้ รู้เท่าทันกระแสบริโภคนิยม และลดละ เลิก เหล้า

การเรียนรู้ในวันสุดสัปดาห์ของมิตร ภาพครอบครัวเล็ก กลังขะมักเขม้นเลาะ ใบอ้อยอยู่กลางไร่ ท่ามกลางแสงแดดอัน ร้อนระอุ บ่อยครั้งที่เก็กชายกมือขึ้นปาด เหงื่อ แต่สีหน้าแววตายังคงมุ่งมั่นกับการ เลาะใบอ้อยอยู่ข้าง ๆ พ่อกับแม่ อาจเป็น ภาพที่หาดูไม่ง่ายนักในชุมชนโคกล่าม จ. กาฬสินธุ์

เกร็ดครอบครัว คุณวิศิษฐ์ วังวิญญู อาศัยอยู่ที่ จ. เชียงราย เป็นผู้อำนวยการสถาบัน ขวัญเมือง เป็นนักเขียน เป็นอาจารย์พิเศษ ได้เขียนหนังสือเล่มหนึ่งจากประสบการณ์ ชีวิตจริงคือหนังสือเรื่อง “ โรงเรียนทำมือ ” มี บางส่วนให้ทัศนะเกี่ยวกับลูก ครอบครัว ต่อ บางคำถามที่เราพ่อแม่เผชิญอยู่ไว้อย่าง น่าสนใจ คือ เรื่องของเวลา และบริโภคนิยม

เกร็ดครอบครัว อบอุ่นคือเข้มแข็ง : นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร ที่ปรึกษาศูนย์ประสานงาน ประชาคมจังหวัดน่าน พ่อแม่ ลูก