รวมพลัง สร้างเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
กิจกรรมที่ 1 1. ให้ท่านอ่านกรณีศึกษาที่ท่านได้รับ
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
“ การส่งเสริมโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยสุขภาพดี ”
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
การบริหารคณะกรรมการความปลอดภัยฯ
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
มาตรฐานการควบคุมภายใน
สถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพ
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
จัดการความรู้เรื่องอะไร ? มีองค์กรใดบ้างที่ตั้งแต่ทำงานมา ไม่ได้ใช้ความรู้ อะไรเลย ? หรือ มีองค์กรใดบ้างที่ไม่เคยรู้ว่ามี ความรู้อะไรบ้างที่จำเป็นสำหรับการทำงานใน.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาเครือข่าย/เสริมศักยภาพเครือข่าย จัดให้มีเวทีเสนอผลงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้และสรุปบทเรียน ยุทธศาสตร์ที่ 2 การรณรงค์ สร้างกระแสลดละเลิกบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ศูนย์อำนวยการจราจร และลดอุบัติเหตุทางถนน ตำรวจภูธรจังหวัดบุรีรัมย์
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รวมพลัง สร้างเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ สมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม รวมพลัง สร้างเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ โดย ดร ศันสนีย์ กีรติวิริยาภรณ์ สมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม www.adeq.or.th 10-12 มีนาคม2554 ศูนย์รวมตะวัน อ.เมือง จ.กาญจนบุรี

การสร้างเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ เป็นการดูแลสุขภาพและคุณภาพชีวิตของพนักงานในสถานประกอบการ ด้วยการดำเนินการด้านต่างๆ เพื่อควบคุมปัจจัยหรือพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อาทิ การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การเล่นการพนัน การป้องกันอุบัติเหตุจากการเดินทาง ฯลฯ นอกเหนือจากการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน http://www.adeq.or.th

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพของคนทำงาน ปัจจัยทางด้านพันธุกรรม สิ่งแวดล้อม (ทั้งในเชิงกายภาพ ชีวภาพ และสังคม) พฤติกรรมการดำเนินชีวิต พฤติกรรมการดำเนินชีวิตมีอิทธิพลต่อสุขภาพของเรามากที่สุด http://www.adeq.or.th

ตัวอย่างพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ การเล่นการพนัน พฤติกรรมการเดินทางที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ ฯลฯ

ดังนั้นจำเป็นต้องทำอย่างเป็นระบบ เป็นขั้นเป็นตอน และต่อเนื่อง... การสร้างเสริมสุขภาพด้วยการควบคุมปัจจัยและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ เป็นกระบวนการ ไม่ใช่เป็นกิจกรรมที่เกิดขึ้นเฉพาะกิจ หรือเกิดขึ้นเป็นครั้งคราว ดังนั้นจำเป็นต้องทำอย่างเป็นระบบ เป็นขั้นเป็นตอน และต่อเนื่อง...

สามารถส่งผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระดับต่างๆ การสร้างเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ สามารถส่งผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระดับต่างๆ คนทำงานเกิดความตระหนักในเรื่องสุขภาพมากขึ้น คนทำงานมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม มีการปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีสุขภาพดี http://www.adeq.or.th

ปัจจัยที่เอื้อต่อความสำเร็จ เจ้าของ/ผู้บริหาร (เห็นความสำคัญ) คณะทำงาน หรือผู้รับผิดชอบงานเรื่องนี้โดยตรง (เห็นความสำคัญ มีทักษะ ความรู้และกระบวนการเรียนรู้) พนักงาน (เห็นความสำคัญ) การดำเนินงาน : เป็นระบบ เน้นสร้างการมีส่วนร่วม และต้องต่อเนื่อง มีนโยบาย เป้าหมายและตัวชี้วัด ที่ชัดเจน มีแผนปฏิบัติการ มีกิจกรรมที่หลากหลาย สามารถควบคุมปัจจัยและพฤติกรรมเสี่ยง (บุหรี่ แอลกอฮอล์ การพนัน อุบัติเหตุ ฯลฯ) ครบทุกด้าน  มีทิศทางที่สอดคล้องกัน เสริมแรงซึ่งกันและกัน

ปัจจัยที่ไม่เอื้อ ต่างคนต่างทำ ผลักดันเฉพาะในส่วนที่ตัวเองรับผิดชอบไม่บูรณาการงานอย่างจริงจัง เจ้าของ/ผู้บริหาร คณะทำงาน พนักงานให้ความสำคัญกับการสร้างเสริมสุขภาพน้อย ทำงานตามลำพัง ไม่มีภาคีเครือข่าย http://www.adeq.or.th

กระบวนการสร้างเสริมสุขภาพอย่างเป็นระบบ ในสถานประกอบการ http://www.adeq.or.th

สถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพ ??? (ควบคุมการสูบบุหรี่ เหล้า การพนัน ลดอุบัติเหตุ) เป็นสถานประกอบการที่มีการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพด้วยการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพต่างๆ อย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง มีนโยบายสร้างเสริมสุขภาพ เช่น นโยบายไม่รับผู้สูบบุหรี่เข้าเป็นพนักงาน หรือมีเงื่อนไขไม่สูบบุหรี่ในที่ทำงาน มีคณะทำงานสร้างเสริมสุขภาพ มีพื้นที่ดำเนินงานทั้งหมด เป็นเขตปลอดบุหรี่ (เหล้า การพนัน) และห้ามจำหน่ายบุหรี่ (เหล้า การพนัน) จำกัดการสูบบุหรี่ให้อยู่ในพื้นที่เฉพาะ  เขตสูบบุหรี่ มีการให้ความรู้เกี่ยวกับพิษภัยของและแนวทางในการเลิกบุหรี่ เหล้า การพนัน รวมทั้งส่งเสริมการเดินทางที่เหมาะสม มีพื้นที่หรือเครื่องมือในการส่งเสริมการเลิกบุหรี่ เหล้า เช่น คลินิกเลิกบุหรี่-เหล้า มีสนามกีฬา หรือพื้นที่ออกกำลังกาย มีจำนวนพนักงานที่ติดบุหรี่-ติดเหล้าลดลง

จากนี้ไปต้องทำอะไรบ้าง ??? ขั้นตอนการพัฒนาสถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพ จัดตั้งคณะทำงานและสร้างทีมงาน กำหนดนโยบาย เสริมสร้าง/พัฒนาศักยภาพของคณะทำงาน สำรวจข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์และพฤติกรรมการสูบบุหรี่ ดื่ม เหล้า เล่นการพนัน การเดินทางของพนักงาน จัดทำแผนปฏิบัติการสถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ ประเมินผล พัฒนาแผนฯ เป็นข้อเสนอโครงการเพื่อขอรับงบฯ สนับสนุน

1. กำหนดนโยบายสถานประกอบการ สร้างเสริมสุขภาพ เป็นนโยบายที่เป็นลายลักษณ์อักษร มีวิธีการจัดทำที่ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของพนักงาน ผู้บริหารลงนาม ประกาศหรือประชาสัมพันธ์ให้ทราบอย่างทั่วถึง http://www.adeq.or.th

สาระของนโยบาย สั้นและกระทัดรัด ใช้ภาษาที่ง่ายต่อการเข้าใจ แสดงให้เห็นถึงความตั้งใจและจุดมุ่งมั่นในการสร้างเสริมสุขภาพ กำหนดจุดมุ่งหมาย (และสรุปให้เห็นว่าจะมุ่งสู่จุดมุ่งหมายอย่างไร) แสดงความต้องการที่จะทำให้เกิดการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง อธิบายที่มาหรือเหตุผลที่จะต้องมีนโยบาย มีรายชื่อคณะทำงาน ฯลฯ

2. จัดตั้งคณะทำงานและสร้างทีมงาน คณะทำงาน มีบทบาทสำคัญที่จะทำให้การดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพของสถานประกอบการเกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ เป็นขั้นเป็นตอน และมีความต่อเนื่อง โดยการจัดตั้งคณะทำงานสามารถทำได้โดยการ แต่งตั้ง ให้แต่ละฝ่าย/แผนกคัดเลือกส่งตัวแทน เปิดรับสมัคร อย่าลืม! ประกาศรายชื่อคณะทำงาน/บทบาทและหน้าที่ ให้บุคลากรในหน่วยงานรับทราบทั่วกัน

คุณสมบัติของผู้ที่จะเข้ามาเป็นคณะทำงาน มาด้วยความเต็มใจและเห็นความสำคัญและความจำเป็นในการควบคุมปัจจัยและพฤติกรรม เสี่ยงในที่ทำงาน มีความสามารถทางจิตวิทยา ทักษะการสื่อสารและมนุษย์สัมพันธ์ (เนื่องจากการควบคุม พฤติกรรมเสี่ยงต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่าย คณะทำงานจะต้องสามารถประสานและ สร้างการมีส่วนร่วมของทุกคนและทุกฝ่ายในองค์กรให้เกิดขึ้นให้ได้ เป็นแกนนำจากฝ่ายต่างๆ จำนวนคณะทำงานขึ้นอยู่กับจำนวนพนักงานหรือฝ่าย

บทบาทคณะทำงาน จัดทำนโยบายเสนอผู้บริหาร กำหนดเป้าหมาย จัดทำแผนปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพของหน่วยงาน ประสานงาน ดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนด ประเมินผลการดำเนินงานเทียบกับตัวชี้วัด และรายงานผล

3. พัฒนาศักยภาพของคณะทำงาน/ทีมงาน เข้าร่วมกิจกรรมค่ายฝึกอบรม “กระบวนการพัฒนาสถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพ” ที่ศูนย์รวมตะวัน สมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม เข้าร่วมกิจกรรมสัมมนาด้านการสร้างเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ ศึกษาจากคู่มือการดำเนินงาน ขอคำปรึกษาเกี่ยวกับการทำแผนปฏิบัติการสถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพ และข้อเสนอโครงการฯเพื่อของบประมาณสนับสนุน

4. สำรวจสถานการณ์และพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ ของพนักงานในสถานประกอบการ เพื่อประเมินระดับความรุนแรงของปัญหาและเป็นการหาแนวทางโดยผลจากการสำรวจจะทำให้สถานประกอบการรู้ถึง สถานการณ์เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพของพนักงาน เช่น การสูบบุหรี่ : จำนวนคนที่สูบ เพศ ระดับการศึกษาความถี่ของการสูบ ความต้องการเลิกบุหรี่ ฯลฯ ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของพนักงานต่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่างๆ แนวทางในการดำเนินงาน ที่เน้นการมีส่วนร่วม และลดความขัดแย้ง http://www.adeq.or.th

แนวทางการสำรวจข้อมูลสุขภาพ กำหนดขอบเขตและขั้นตอนการเก็บข้อมูล จัดทำแบบสอบถามสำรวจพฤติกรรมและทัศนคติความคิดเห็นเกี่ยวกับการสูบบุหรี่/ดื่มเหล้า/เล่นการพนัน/การเดินทางของพนักงาน (สามารถ Down Load จาก Website โครงการฯwww.healthyenterprise.org ทำการสำรวจข้อมูล ให้มีความกระจายตัวของกลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์ข้อมูล: หาแนวทางในการจัดการ กำหนดเป้าหมาย นำมาใช้เป็นแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติการฯ อย่าลืม! ประชาสัมพันธ์ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจให้ทุกคนทราบด้วย

แบบสำรวจ จำนวน 4 ชุด ดังนี้ แบบสำรวจพฤติกรรมและสถานการณ์การสูบบุหรี่ในสถานประกอบการ แบบสำรวจพฤติกรรมและสถานการณ์การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของพนักงาน แบบสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุจากการเดินทางของพนักงาน แบบสำรวจพฤติกรรมการและสถานการณ์การเล่นพนันของพนักงาน Download ที่ http://www.healthyehterprise.org

5. จัดทำแผนปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพ (แผนฯควบคุมการสูบบุหรี่ เหล้า การพนัน และลดอุบัติเหตุ)

6. ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ ประชาสัมพันธ์การดำเนินการ รายงานความก้าวหน้าเป็นระยะๆ ทำกิจกรรมตามที่กำหนดไว้ในแผนปฏิบัติการ จัดสภาพแวดล้อม เช่น กำหนดเขตปลอดบุหรี่/เขตสูบบุหรี่ ให้ความรู้แก่พนักงาน เพื่อสร้างความตระหนัก จัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อสนับสนุนการเลิกพฤติกรรมเสี่ยง

7. ประเมินผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด และปรับปรุงแก้ไข ตรวจสอบการดำเนินงาน จัดประชุมคณะทำงาน เพื่อติดตามความก้าวหน้า จัดแสดงความก้าวหน้าของการดำเนินงานด้วยกราฟ ตารางรูปภาพหรือวิธีการ อื่นๆ ปรับปรุงแนวทางการดำเนินงาน รักษามาตรฐาน ทำการสำรวจ เพื่อตรวจสอบการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ขอคำแนะนำจากหน่วยงานอื่นๆ ที่ดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพ

Time Line การปฏิบัติงานของสถานประกอบการ สถานประกอบการส่งข้อเสนอโครงการ สพส. จัดกิจกรรมสนับสนุนการปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพของสถานประกอบการ สถานประกอบการส่งรายงานการดำเนินงาน สพส. แจ้งผลการพิจารณาโครงการ คณะทำงานเข้ารับการอบรม เดือน1 เดือน2 เดือน3 เดือน4 เดือน5 เดือน6 เดือน7 เดือน8 เดือน9 เดือน10 มีค. เมย. พค. มิย. กค. สค. กย. ตค. พย. ธค. คณะทำงานสำรวจสถานการณ์และพฤติกรรมเสี่ยงในสถานประกอบการ คณะทำงานสำรวจประเมินการเปลี่ยนแปลง ตามตัวชี้วัด คณะกรรมการพิจารณาให้การสนับสนุน สถานประกอบการดำเนินงานตามข้อเสนอโครงการและแผนปฏิบัติการ - ประกาศเจตนารมณ์ - จัดตั้งคณะทำงาน - คณะทำงานจัดประชุมทำแผนปฏิบัติการฯและจัดทำข้อเสนอโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจาก สสส. - ขอความเห็นชอบจากผู้บริหาร

(HPE Standard) สถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นฐาน มีการสร้างเสริมสุขภาพด้วยการควบคุมปัจจัยเสี่ยงอย่างน้อย 1 ประเด็น โดยต้องมีการควบคุมการสูบบุหรี่ในที่ทำงาน เป็นประเด็นหลัก และอาจทำการควบคุมปัจจัยเสี่ยงด้านอื่นๆ (ได้แก่ เหล้า การพนัน และอุบัติเหตุ อย่างใดอย่างหนึ่ง) พร้อมกันไปด้วย http://www.adeq.or.th

การดำเนินงานของ HPE Standard มีการสร้างเสริมสุขภาพของพนักงานด้วยการดำเนินการ ดังนี้ มีนโยบายด้านการสร้างเสริมสุขภาพเป็นลายลักษณ์อักษร มีคณะทำงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพ ไม่มีการจำหน่ายสินค้าที่เป็นบ่อนทำลายสุขภาพทุกชนิด มีการจัดสภาพแวดล้อมเพื่อควบคุมปัจจัยและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ และ/หรือมีการจัดทำกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ จัดระบบสื่อสารให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ หรือสร้างความตระหนักให้เกิดขึ้นแก่พนักงาน มีระบบสนับสนุนพนักงานให้ลด ละเลิก ห่างไกลจากปัจจัยเสี่ยง โครงการให้การสนับสนุนทางเทคนิคและสื่อรณรงค์

การดำเนินงานของ HPE Standard (กรณีเลือกทำเรื่องบุหรี่เรื่องเดียว) มีการสร้างเสริมสุขภาพของพนักงานด้วยการดำเนินการ ดังนี้ มีนโยบายควบคุมการสูบบุหรี่ในที่ทำงาน เป็นลายลักษณ์อักษร มีคณะทำงานสร้างเสริมสุขภาพ ไม่มีการจำหน่ายบุหรี่ในสถานประกอบการ มีการจัดสภาพแวดล้อมให้ปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย หรือมีการจัดทำกิจกรรมควบคุมการสูบบุหรี่ อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ มีระบบสื่อสารให้ความรู้แก่พนักงาน มีระบบสนับสนุนพนักงานให้ลด ละเลิก บุหรี่

(HPE Premium) สถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพระดับก้าวหน้า มีการสร้างเสริมสุขภาพด้วยการควบคุมปัจจัยเสี่ยงอย่างน้อย 2 ประเด็น โดยต้องมีการควบคุมการสูบบุหรี่ในที่ทำงาน เป็นประเด็นหลัก และมีการควบคุมปัจจัยเสี่ยงด้านอื่นๆ (ได้แก่ เหล้า การพนัน และอุบัติเหตุ อย่างใดอย่างหนึ่ง) พร้อมกันไปด้วย

การดำเนินงานของ HPE Premium มีการสร้างเสริมสุขภาพของพนักงานด้วยการดำเนินการ ดังนี้ มีนโยบายด้านการสร้างเสริมสุขภาพเป็นลายลักษณ์อักษร มีคณะทำงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพ มีแผนปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพของหน่วยงาน โดยมีกิจกรรมดังต่อไปนี้ มีการจัดสภาพแวดล้อมเพื่อควบคุมปัจจัยและพฤติกรรมเสี่ยงฯ มีระบบสื่อสารให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ มีระบบสนับสนุนพนักงานให้ลด ละเลิก ห่างไกลจากปัจจัยเสี่ยง มีการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ มีการประเมินผล ไม่มีการจำหน่ายสินค้าที่เป็นบ่อนทำลายสุขภาพทุกชนิด ดำเนินการอย่างเป็นระบบ โดยโครงการสนับสนุนทางด้านเทคนิคและสื่อ สามารถเขียนข้อเสนอโครงการของบฯ สนับสนุน

การสนับสนุนจากโครงการ

1. จัดค่ายฝึกอบรม “กระบวนการขับเคลื่อนสถานประกอบการปลอดบุหรี่”ให้คณะทำงานของสถานประกอบการ จำนวน 5 รุ่น รวม 250 คน สร้างความตระหนัก

รู้จักวิธีการและเครื่องมือในการขับเคลื่อนสถานประกอบการปลอดบุหรี่

2. จัดกิจกรรมสัมมนาในประเด็นที่เป็นประโยชน์

3. จัดกิจกรรมรณรงค์สัญจรในสถานประกอบการที่มีการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ จัดกิจกรรมรณรงค์สัญจร จำนวน 10 ครั้ง

4. สนับสนุนสื่อรณรงค์ภาวะปลอดบุหรี่ในสถานประกอบการ ที่สื่อความหมายโดยตรงถึงพนักงานในสถานประกอบการ

โปสเตอร์เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ

Health Promotion Conner

Health Promotion Enterprise Banner

5. เจ้าหน้าที่โครงการให้คำปรึกษาอย่างใกล้ชิด

5. มีพี่เลี้ยงให้คำปรึกษาด้านการดำเนินงาน

โครงการสถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงาน สวัสดี