เคลื่อนทัพส่งออก : มุมมองใหม่ โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี www.FTAMonitoring.org.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนนำทางส่งออกไทย: โอกาสใหม่ในความท้าทาย
Advertisements

ความสำคัญของการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี
การค้าและการเงิน ระหว่างประเทศของไทย (ต่อ)
โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย
นโยบายการเปิดเสรีทางการเงินโลก
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
ประเทศไทยได้ประโยชน์และเสียประโยชน์อะไรจาก (AFTA)
ดร.อัศนีย์ รัตนมาลัย โดย อดีต : ผู้อำนวยการสถาบันยุทธศาสตร์การค้า
โดย ณรงค์ชัย อัครเศรณี, Ph.D.
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ AEC มุมมองภาครัฐ ( )
สรุปการนำเสนอโครงการ ปี จาก 4 ภูมิภาค
วิกฤต-โอกาส กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
สัดส่วนของการส่งออก/GDP
ชื่อ กนกภรณ์ นามสกุล บุญทรง รหัสนักศึกษา ชั้นปีที่ 2 ภาควิชา พัฒนาการเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
ชื่อ นางสาว สุนิสา แก้วจารนัย
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
การจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
Free Trade Area Bilateral Agreement
เศรษฐกิจบนพื้นฐานความคิดสร้างสรรค์ (Creative Economy)
ความเป็นมาของไทยกับ AFTA
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
การพัฒนาเศรษฐกิจไทย ในศตวรรษหน้า, 2010s
บรรยาย เรื่อง AEC Asean Economic Community
ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
ยุทธศาสตร์ของไทยต่อการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคและทวิภาคี
FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต
อุตสาหกรรมเด่นของไทย มูลค่าส่งออก (ล้านบาท)
ความรู้เบื้องต้นในการวินิจฉัยธุรกิจ
ปฏิญญาการศึกษา: รากฐานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจ การพาณิชย์และอุตสาหกรรม วุฒิสภา
ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
IS กับ IT IS ต้องอาศัย IT
รัฐวิสาหกิจไทย: อดีต ปัจจุบัน และอนาคต
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : ความฝันที่ไกลและไปไม่ถึง?
การสัมมนา เรื่อง เอฟทีเอ : ไทยได้ประโยชน์แค่ไหน โดย ปลัดกระทรวงพาณิชย์ (นายการุณ กิตติสถาพร) ณ ห้องจามจุรี โรงแรมปทุมวันพริ้นซ์เซส วันพุธที่ 25 สิงหาคม.
ไทยได้ประโยชน์อะไร จากการเปิดเสรีอาเซียน-จีน
เขตการค้าเสรี ไทย-อินเดีย
ยุทธศาสตร์ การจัดทำเขตการค้าเสรีของไทย
 *connectedthinking กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ 21 กันยายน 2547 การเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการ.
การค้าการเงินโลกยุคใหม่ AEC และเศรษฐกิจประเทศไทย
สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง กุมภาพันธ์ 2549
แนวทางรองรับผลจาก ASEAN-CER (ASEAN-Australia-New Zealand FTA)
การบริหารเศรษฐกิจ ภาคการผลิต การค้า และการลงทุน โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง วันพฤหัสบดีที่ 20 ธันวาคม.
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง
นโยบายและยุทธศาสตร์การค้า การลงทุนของประเทศไทย โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี โรงแรมโซฟิเทล เซ็นทรัล พลาซ่า 31 สิงหาคม 2549.
ผลการสำรวจความคิดเห็นของนัก ธุรกิจอินเดียที่มีต่อการค้าการลงทุน กับไทย สถาบันวิจัยนโยบาย เศรษฐกิจการคลัง พฤษภาคม
บทที่ 8 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย ภายใต้วิกฤติการเมือง
ทิศทางการพัฒนาการเกษตรไทย
กรมพัฒนาธุรกิจ การค้า. ด้านการ ส่งเสริมธุรกิจ และพัฒนา ธุรกิจ ภารกิจ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ด้านการจด ทะเบียนธุรกิจ / บริการข้อมูล ธุรกิจ ด้านการกำกับดูแล.
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
กลยุทธ์ = การพัฒนา + การ ขยายธุรกิจ เรารู้จักตัวเรามากน้อยแค่ใหน ? สินค้าเรา กลุ่มใหน ? เกรดใหน ? ขนาดใหน ? ตลาดคืออะไร ? ตลาดของเราอยู่ที่ใหน ? แบบใหน.
 โลกาภิวัฒน์ (Globalization) มาจากคำว่า โลกา + อภิ + วฒฺน หากแปลตามศัพท์ จะหมายความว่า พื้นแผ่นดินที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว Global( ทั่วทั้งโลก.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 4 การค้าส่ง.
โดย อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ (นางสาวชุติมา บุณยประภัศร) มิถุนายน 2551 ณ โรงแรมริชมอนด์ จ.นนทบุรี การประชุมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างสมรรถนะ.
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
 กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางทำให้เกิดการติดต่อด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ สร้างตลาดการค้า การ แข่งขัน การส่งออก การบริการ การลงทุนและ.
เรื่องที่นักส่งเสริมการเกษตรควรรู้
ครูจงกล กลาง ชล 1. ผลการเรียนรู้ที่ คาดหวัง อธิบายกิจกรรมการผลิต ของมนุษย์ขั้นทุติยภูมิได้ 2.
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน้าที่ทางการตลาด Marketing Function
ครูจงกล กลาง ชล 1. 2 รู้และเข้าใจ เกี่ยวกับกิจกรรม การผลิตที่ เกี่ยวข้องกับการ แลกเปลี่ยนหรือ ซื้อขาย.
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เคลื่อนทัพส่งออก : มุมมองใหม่ โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี

เคลื่อนทัพส่งออก : มุมมองใหม่ I.มิติใหม่ของการค้า / การลงทุน ระหว่าง ประเทศ II.การจัดระบบเศรษฐกิจเพื่อส่งเสริมการ ส่งออกของภาครัฐ III.การปรับตัวของภาคธุรกิจเพื่อการส่งออก

I. มิติใหม่ของการค้า/การลงทุน ระหว่างประเทศ 1.การแข่งขันเพิ่มขึ้น คู่แข่ง/คู่ค้ามากขึ้น 2.สินค้าที่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติมากกลับมามี ราคาดี 3.มีการแบ่งกลุ่มการค้า/การลงทุน 4.การบริหารการผลิต/การขายไร้พรมแดน 5.ความเสี่ยงใหม่ๆ

1978 จีนเข้าตลาดการค้าการลงทุน (เข้า WTO 2001) 1989 ยุติสงครามเย็น – ยุโรปตะวันออกเข้า ตลาดโลก 1991/92 อินเดียเริ่มเปิดเสรีทางการค้าการลงทุน เกือบทั้งโลกเข้าแข่งขันการค้าการ ลงทุน 1. การแข่งขันเพิ่มขึ้น คู่แข่ง/คู่ค้ามากขึ้น I. มิติใหม่ของการค้า/การลงทุน ระหว่างประเทศ (ต่อ)

2.สินค้าที่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติมาก (Natural Resource Based) กลับมามีราคาดี I. มิติใหม่ของการค้า/การลงทุน ระหว่างประเทศ (ต่อ) จากความต้องการสินค้าของจีน อินเดีย และ ประเทศที่ เข้าตลาดโลกใหม่ๆ ทำให้สินค้าเหล่านี้มีราคาขึ้น - น้ำมันดิบ- ยาง -เหล็ก- กระดาษ -ทองแดง- น้ำมันปาล์ม -เปโตรเคมี- ข้าวสาลี - ขนแกะ

3.มีการแบ่งกลุ่มการค้า/การลงทุน 1993/94 จบ Uruguay Round การค้าสินค้าเป็นเสรีมากขึ้น ขยายไปเปิดเสรีทางการค้าสินค้าเกษตร และบริการ (DDA2001) 1993 NAFTA รวมกลุ่มอเมริกาเหนือ EU เป็นตลาดเดียว 15 ประเทศ (ขยายเป็น 25 ประเทศ พ.ค. 2004) การค้าการลงทุนมีการแบ่งกลุ่ม I. มิติใหม่ของการค้า/การลงทุน ระหว่างประเทศ (ต่อ)

4.การบริหารการผลิต/การขาย ไร้พรมแดน 1990’s ICT Revolution Globalization ของตลาดเงิน / ตลาดทุน Outsourcing การผลิตสินค้าและการใช้ บริการ การบริหารการผลิต/การขายไร้พรมแดน การแพร่กระจายของ superstores เพิ่มอำนาจผู้ซื้อและลดอำนาจของ brands I. มิติใหม่ของการค้า/การลงทุน ระหว่างประเทศ (ต่อ)

2000 ราคาวัตถุดิบ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง น้ำมันเพิ่มขึ้น 2001ปัญหาการก่อการร้ายสากล 2003 Viral Epidemic 2004Tectonic Plate ใน SEA เคลื่อนที่ I. มิติใหม่ของการค้า/การลงทุน ระหว่างประเทศ (ต่อ) 5.ความเสี่ยงอื่นๆ

สร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 2001ให้ธุรกิจขนาดใหญ่คืนสู่ฐานะที่ทำ ธุรกิจได้ตามปกติ โดย - การแก้ปัญหา NPLs จบลงรวดเร็ว - กู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินได้ II. การจัดระบบเศรษฐกิจเพื่อ ส่งเสริมการส่งออกของภาครัฐ 1.สร้างเสถียรภาพและเร่งการขยายตัว

ให้ SMEs มีโอกาสในการทำธุรกิจโดย -เพิ่มความสะดวกในการกู้ยืมเงินลงทุน -จัดกิจกรรมส่งเสริมธุรกิจ SMEs -โครงการ OTOPs จัด A/P และโครงการพัฒนาสำหรับกลุ่มอุตสาหกรรม ที่มีศักยภาพ -สินค้าแฟชั่น -ยานยนตร์ / อุปกรณ์ขนส่ง -อาหารแปรรูป ฯลฯ II. การจัดระบบเศรษฐกิจเพื่อส่งเสริม การส่งออกของภาครัฐ (ต่อ)

2002ร่วมเจรจา DDA ในกรอบ WTO 2005ปรับโครงสร้างภาษีขาเข้าเป็นอัตราต่ำ และ น้อยอัตรา (0, 1, 5, 10, 20) 2001เริ่มทำข้อตกลง FTA นอกกรอบ ASEAN -ลงนามและเริ่มใช้แล้วบางกลุ่มสินค้า จีน --- ผัก/ ผลไม้ – ต.ค อินเดีย รายการ – ก.ย ออสเตรเลีย--- ม.ค II. การจัดระบบเศรษฐกิจเพื่อส่งเสริม การส่งออกของภาครัฐ (ต่อ) 2.เปิดเสรีทางการค้าและสร้างพันธมิตรทางธุรกิจโดยมี FTAs

- ลงนาม และกำลังจะเริ่มใช้ นิวซีแลนด์ – ก.ค ลงนาม และ ยังไม่เริ่มใช้ บาห์เรน – ม.ค กำลังเจรจา สหรัฐอเมริกา, ญี่ปุ่น, เปรู, EFTA, ฯลฯ II. การจัดระบบเศรษฐกิจเพื่อส่งเสริม การส่งออกของภาครัฐ (ต่อ)

 สร้าง Infrastructure เพื่อเพิ่มศักยภาพทาง Logistics  จัดการผลิตในรูป Cluster  ส่งเสริมการเรียน / การใช้ ICT ในการวิจัย / พัฒนา และ การผลิต/ การค้า II. การจัดระบบเศรษฐกิจเพื่อส่งเสริม การส่งออกของภาครัฐ (ต่อ) 3. เพิ่มความสามารถทางการแข่งขัน

 กลับสู่การผลิต Natural Resource Based goods  ผลิตสินค้าไร้ Brands สำหรับตลาดพัฒนาแล้วและที่มี Superstores  ผลิตสินค้ามี Own brands สำหรับตลาดใหม่  เข้าระบบ ISO ตามความจำเป็นของสินค้า  ใช้ ICT ในการบริหารการผลิต / การขาย / และบริการหลัง การขาย  ใช้ระบบขายแบบแบ่งตลาด (market segmentation & market modularization)  เข้าร่วมขบวนการ Networking และ Outsourcing  ใช้ FTA เพื่อช่วยการขายและการผลิต III. การปรับตัวของภาคธุรกิจเพื่อ การส่งออก

เคลื่อนทัพส่งออก : มุมมองใหม่ โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี << Back << Back