เคลื่อนทัพส่งออก : มุมมองใหม่ โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี
เคลื่อนทัพส่งออก : มุมมองใหม่ I.มิติใหม่ของการค้า / การลงทุน ระหว่าง ประเทศ II.การจัดระบบเศรษฐกิจเพื่อส่งเสริมการ ส่งออกของภาครัฐ III.การปรับตัวของภาคธุรกิจเพื่อการส่งออก
I. มิติใหม่ของการค้า/การลงทุน ระหว่างประเทศ 1.การแข่งขันเพิ่มขึ้น คู่แข่ง/คู่ค้ามากขึ้น 2.สินค้าที่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติมากกลับมามี ราคาดี 3.มีการแบ่งกลุ่มการค้า/การลงทุน 4.การบริหารการผลิต/การขายไร้พรมแดน 5.ความเสี่ยงใหม่ๆ
1978 จีนเข้าตลาดการค้าการลงทุน (เข้า WTO 2001) 1989 ยุติสงครามเย็น – ยุโรปตะวันออกเข้า ตลาดโลก 1991/92 อินเดียเริ่มเปิดเสรีทางการค้าการลงทุน เกือบทั้งโลกเข้าแข่งขันการค้าการ ลงทุน 1. การแข่งขันเพิ่มขึ้น คู่แข่ง/คู่ค้ามากขึ้น I. มิติใหม่ของการค้า/การลงทุน ระหว่างประเทศ (ต่อ)
2.สินค้าที่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติมาก (Natural Resource Based) กลับมามีราคาดี I. มิติใหม่ของการค้า/การลงทุน ระหว่างประเทศ (ต่อ) จากความต้องการสินค้าของจีน อินเดีย และ ประเทศที่ เข้าตลาดโลกใหม่ๆ ทำให้สินค้าเหล่านี้มีราคาขึ้น - น้ำมันดิบ- ยาง -เหล็ก- กระดาษ -ทองแดง- น้ำมันปาล์ม -เปโตรเคมี- ข้าวสาลี - ขนแกะ
3.มีการแบ่งกลุ่มการค้า/การลงทุน 1993/94 จบ Uruguay Round การค้าสินค้าเป็นเสรีมากขึ้น ขยายไปเปิดเสรีทางการค้าสินค้าเกษตร และบริการ (DDA2001) 1993 NAFTA รวมกลุ่มอเมริกาเหนือ EU เป็นตลาดเดียว 15 ประเทศ (ขยายเป็น 25 ประเทศ พ.ค. 2004) การค้าการลงทุนมีการแบ่งกลุ่ม I. มิติใหม่ของการค้า/การลงทุน ระหว่างประเทศ (ต่อ)
4.การบริหารการผลิต/การขาย ไร้พรมแดน 1990’s ICT Revolution Globalization ของตลาดเงิน / ตลาดทุน Outsourcing การผลิตสินค้าและการใช้ บริการ การบริหารการผลิต/การขายไร้พรมแดน การแพร่กระจายของ superstores เพิ่มอำนาจผู้ซื้อและลดอำนาจของ brands I. มิติใหม่ของการค้า/การลงทุน ระหว่างประเทศ (ต่อ)
2000 ราคาวัตถุดิบ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง น้ำมันเพิ่มขึ้น 2001ปัญหาการก่อการร้ายสากล 2003 Viral Epidemic 2004Tectonic Plate ใน SEA เคลื่อนที่ I. มิติใหม่ของการค้า/การลงทุน ระหว่างประเทศ (ต่อ) 5.ความเสี่ยงอื่นๆ
สร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 2001ให้ธุรกิจขนาดใหญ่คืนสู่ฐานะที่ทำ ธุรกิจได้ตามปกติ โดย - การแก้ปัญหา NPLs จบลงรวดเร็ว - กู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินได้ II. การจัดระบบเศรษฐกิจเพื่อ ส่งเสริมการส่งออกของภาครัฐ 1.สร้างเสถียรภาพและเร่งการขยายตัว
ให้ SMEs มีโอกาสในการทำธุรกิจโดย -เพิ่มความสะดวกในการกู้ยืมเงินลงทุน -จัดกิจกรรมส่งเสริมธุรกิจ SMEs -โครงการ OTOPs จัด A/P และโครงการพัฒนาสำหรับกลุ่มอุตสาหกรรม ที่มีศักยภาพ -สินค้าแฟชั่น -ยานยนตร์ / อุปกรณ์ขนส่ง -อาหารแปรรูป ฯลฯ II. การจัดระบบเศรษฐกิจเพื่อส่งเสริม การส่งออกของภาครัฐ (ต่อ)
2002ร่วมเจรจา DDA ในกรอบ WTO 2005ปรับโครงสร้างภาษีขาเข้าเป็นอัตราต่ำ และ น้อยอัตรา (0, 1, 5, 10, 20) 2001เริ่มทำข้อตกลง FTA นอกกรอบ ASEAN -ลงนามและเริ่มใช้แล้วบางกลุ่มสินค้า จีน --- ผัก/ ผลไม้ – ต.ค อินเดีย รายการ – ก.ย ออสเตรเลีย--- ม.ค II. การจัดระบบเศรษฐกิจเพื่อส่งเสริม การส่งออกของภาครัฐ (ต่อ) 2.เปิดเสรีทางการค้าและสร้างพันธมิตรทางธุรกิจโดยมี FTAs
- ลงนาม และกำลังจะเริ่มใช้ นิวซีแลนด์ – ก.ค ลงนาม และ ยังไม่เริ่มใช้ บาห์เรน – ม.ค กำลังเจรจา สหรัฐอเมริกา, ญี่ปุ่น, เปรู, EFTA, ฯลฯ II. การจัดระบบเศรษฐกิจเพื่อส่งเสริม การส่งออกของภาครัฐ (ต่อ)
สร้าง Infrastructure เพื่อเพิ่มศักยภาพทาง Logistics จัดการผลิตในรูป Cluster ส่งเสริมการเรียน / การใช้ ICT ในการวิจัย / พัฒนา และ การผลิต/ การค้า II. การจัดระบบเศรษฐกิจเพื่อส่งเสริม การส่งออกของภาครัฐ (ต่อ) 3. เพิ่มความสามารถทางการแข่งขัน
กลับสู่การผลิต Natural Resource Based goods ผลิตสินค้าไร้ Brands สำหรับตลาดพัฒนาแล้วและที่มี Superstores ผลิตสินค้ามี Own brands สำหรับตลาดใหม่ เข้าระบบ ISO ตามความจำเป็นของสินค้า ใช้ ICT ในการบริหารการผลิต / การขาย / และบริการหลัง การขาย ใช้ระบบขายแบบแบ่งตลาด (market segmentation & market modularization) เข้าร่วมขบวนการ Networking และ Outsourcing ใช้ FTA เพื่อช่วยการขายและการผลิต III. การปรับตัวของภาคธุรกิจเพื่อ การส่งออก
เคลื่อนทัพส่งออก : มุมมองใหม่ โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี << Back << Back