หม้อสุกี้ไฟฟ้า.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PAIBOONKIJ SUPPLY LIMITED PARTNERSHIP
Advertisements

งานชิ้นที่ 3 การจัดงานในบ้าน 10 คะแนน
มหัศจรรย์ น้ำยาล้างจาน.
ห้องน้ำ/ห้องส้วม/ที่ปัสสาวะ
ห้องปฏิบัติการต่างๆ.
การปฏิบัติการลดการใช้พลังงาน
USER’S MAINTENANCE (การบำรุงรักษา).
เทคนิคการเชื่อมไฟฟ้า
วิธีทำความสะอาดรอยเปื้อนต่าง
มาตรการป้องกันการติดเชื้อไข้หวัด ใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 สำหรับเจ้าหน้าที่คลัสเตอร์ 1. ทุกเช้าก่อนปฏิบัติงานทำความสะอาด Monitor โดยเฉพาะ mouse, Keyboard.
โดย สมาคมการช่วยชีวิตและดับเพลิง FARA
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
การใช้โสตทัศนูปกรณ์ในห้องเรียน
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
คณะกรรมการ “รวมพลังศรีปทุมหารสอง”
แนะนำวิธีการลดการใช้พลังงาน
การล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
สวัสดีค่ะ.
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
สาระน่ารู้เกี่ยวกับเครื่องปรับอากาศ
ช่างเทคนิคโตโยต้า >> การบำรุงรักษาตามระยะ
ช่างเทคนิคโตโยต้า >> การบำรุงรักษาตามระยะ
5ส เพื่อการเพิ่มผลผลิต
การศึกษาวงจรและการซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์
เตารีด คือ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่สามารถหยิบยกได้ ให้ความร้อนแผ่นฐานด้วยไฟฟ้าและใช้สำหรับรีดวัสดุสิ่งทอให้เรียบ ปัจจุบันมีการนำเอาสารเคลือบ เทฟลอนมาเคลือบแผ่นฐาน.
เตาไฟฟ้า.
เครื่องปั่นน้ำผลไม้.
เตาปิ้งย่างไฟฟ้า.
กระทะไฟฟ้า                .
เครื่องนวดไฟฟ้า.
เครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้า
เครื่องดูดฝุ่น.
เตาไมโครเวฟ.
เครื่องซักผ้า.
หลอดไฟฟ้า.
เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน
ความหมายของเครื่องปรับอากาศ
เครื่องปิ้งขนมปัง.
เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า.
จักรเย็บผ้า.
เครื่องถ่ายเอกสาร.
ลิฟต์.
หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า : ลำโพง รายวิชา วิทยาศาสตร์
เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภท Notebook
เครื่องม้วนผม.
ไดร์เป่าผม.
การบริหารยาทางฝอยละออง
อุตสาหกรรมฟอกหนัง ผลิตภัณฑ์จากหนัง งานตกแต่ง สี ขัด อัดหนัง
อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม การแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
1.ใช้ถ่านไฟฉายที่สามารถบรรจุไฟได้ใหม่
ระบบแสงสว่างทางทันตกรรม
สิ่งประดิษฐ์ตู้ส่องสภาพผ้าแบบประหยัด
เครื่องสำรองไฟฟ้า(UPS)
ความปลอดภัยในการทำงาน
เรื่องการจัดชุดสุกี้
Medical Engineering Center 1 (Ratchaburi)
1.สารลดแรงตึงผิว 2.ฟอสเฟต 3.ซิลิเกต 4.โซเดียมคาร์บอคซีเมทิลเซลลูโลส
วิชา งานสีรถยนต์.
งานเครื่องล่างรถยนต์
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
มาตรการประหยัดพลังงาน
โดย ด.ช.กฤษณรักษ์ ปิ่นตา ม.1/4 เลขที่ 16
ห้องรับแขกที่ดูสบายตา
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับแผงลอยจำหน่ายอาหาร
วิธีการประหยัดพลังงาน
บทที่ 6 เกร็ดความรู้เกี่ยวกับอาหาร และเครื่องดื่ม
ปุ่มชงกาแฟ ปุ่มจ่ายน้ำร้อน ปุ่มจ่ายไอน้ำ วาล์วจ่ายไอน้ำ ก้านจ่ายไอน้ำ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หม้อสุกี้ไฟฟ้า

ลักษณะ - มีตัวหม้อเป็นสเตนเลส โครงชุดหม้อด้านนอก มีรูปทรงโค้งมนสวย - มีตัวหม้อเป็นสเตนเลส โครงชุดหม้อด้านนอก มีรูปทรงโค้งมนสวย  - ฝาแก้ว ช่วยเพิ่ม ความสะดวกสบายใน การทำสุกี้ ทนความร้อน สูง ใสมองเห็นอาหาร ภายใน - หม้อสุกี้ เป็นสเตน เลสเงางาม แข็งแรง ทนทาน ถอดล้าง ทำ ความสะอาดได้

ปรับระดับความร้อนได้หลาย ระดับ โดยปรับที่มิเตอร์เร่งไฟ ใช้ งานง่าย - ใช้งานได้หลายรูปแบบ เช่น ต้ม ตุ๋น อุ่น ทอด ผัด ฯลฯ เหมาะสำหรับ ใช้ทำสุกี้ ในครอบครัว - สะดวกในการเคลื่อนย้ายและทำ ความสะอาดง่าย เพราะสายปลั๊ก สามารถถอดแยกออกจากตัวเครื่อง ได้

- สินค้าส่วนใหญ่จะรับประกันคุณภาพ 1 ปี - กำลังไฟฟ้า 1,200 วัตต์ แรงดันไฟฟ้า / ความถี่ 220 V. / 50 Hz.

วิธีการใช้งาน - ใช้ปุ่มปรับอุณหภูมิไปที่ On เพื่อทำการเปิดเครื่อง อุปกรณ์สามารถปรับอุณหภูมิได้ง่ายและสะดวก ใช้น้ำทำความสะอาดเศษอาหารที่ติดค้าง - ใช้ฟองน้ำค่อย ๆ เช็ดออก และทำความสะอาดอีกครั้งหนึ่ง โดยใช้น้ำยาล้างจาน

ข้อควรปฏิบัติและข้อควรระวัง อย่าจับส่วนที่มีความร้อน จับเฉพาะบริเวณนอกตัวหม้อ หรือปุ่ม กรุณาอย่าใช้เครื่องในที่โล่งแจ้ง อย่าปล่อยให้สายห้อยลงพื้นหรือสัมผัสส่วนที่ร้อน อย่าใช้งานมากกว่าปกติ ก่อนเลิกใช้งานควรจะหมุนปุ่มไปที่ OFF เสมอ - ควรระมัดระวังอย่างมากในขณะนำซุปที่ต้มเดือดจัด

การดูแลรักษาอุปกรณ์ ก่อนทำความสะอาดให้ปรับไปที่ปุ่ม OFF ก่อน และถอดปลั๊ก เสียก่อน ทำความสะอาดฐานรองโดยการใช้ผ้าน้ำเช็ดให้สะอาด อย่าใช้แปรงขัดทำความสะอาด - อย่าจุ่ม หรือแช่อุปกรณ์หรือชิ้นส่วนปรับอุณหภูมิลงในน้ำ

คำถาม ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3

ข้อ 1 หม้อสุกี้ไฟฟ้าส่วนใหญ่จะมีกำลังไฟฟ้ากี่วัตต์ ข้อ 1 หม้อสุกี้ไฟฟ้าส่วนใหญ่จะมีกำลังไฟฟ้ากี่วัตต์ ก. 800 วัตต์ ข. 1000 วัตต์ ค. 1200 วัตต์ ง. 1400 วัตต์

ข้อ 2 การทำความสะอาดหม้อ สุกี้ไฟฟ้าควรปฏิบัติอย่างไร ข้อ 2 การทำความสะอาดหม้อ สุกี้ไฟฟ้าควรปฏิบัติอย่างไร ก. ใช้น้ำล้างธรรมดา ข. ใช้ฝอยในการความสะอาด ค. ใช้ฟองน้ำค่อยๆ เช็ดออก หลังจากนั้นตามด้วยน้ำยาล้างจาน ง. ใช้แปรงขัดทำความสะอาด

ข้อ 3 ข้อใดกล่าวผิด ก. อย่าจับส่วนที่มีความร้อน จับเฉพาะบริเวณนอกตัวหม้อ หรือปุ่ม ข. ใช้เครื่องในที่โล่งแจ้ง ค. อย่าใช้งานมากกว่าปกติ ง. ก่อนเลิกใช้งานควรจะหมุนปุ่มไปที่ OFF เสมอ

ชั้น ปวส.2/1 การบัญชี เลขที่ 13 จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ ผู้จัดทำ น.ส. นิภาดา พลอยสระศรี ชั้น ปวส.2/1 การบัญชี เลขที่ 13

ถูกต้องค่ะ ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3

ผิดนะคะ ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3