นโยบายด้านส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2556 ยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2556 ประเด็น: ยุทธศาสตร์ผู้สูงอายุ “80 ยังแจ๋ว” เป้าประสงค์: “80 ปียังแจ๋ว สุขภาพดีมีมาตรฐาน อายุยืนนาน พึ่งตนเอง ช่วยสังคม” อายุยืน ช่วยสังคม Long Term Care : LTC • วัดส่งเสริมสุขภาพ • ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ
ปัจจุบันประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้ว สถานการณ์ผู้สูงอายุ ปัจจุบันประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้ว ผู้สูงอายุไทยมีจำนวน 8,300,000 คน คิดเป็น 13% อายุคาดเฉลี่ยแรกเกิด ชาย 66 ปี หญิง 74 ปี ตั้งแต่ปีพ.ศ.2566-2586 จะมีผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นมากกว่าปีละ 1 ล้านคนทุกปี ที่มา : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล : มิเตอร์ประเทศไทย ข้อมูลผู้สูงอายุ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีผู้สูงอายุ 2,548,538 คน อุดรธานี 11.7 % ( ประชากรผู้สูงอายุ 159,688 คน เป็นอันดับที่ 17 ประชากร รวมสูงเป็นอันดับ 5 ของภาค ) ข้อมูล : Who,2012
จำนวนประชากร 60 ปีขึ้นไป มีประชากร 159,688 คน คิดเป็น 10.32 % จังหวัดอุดรธานี จำนวนประชากร 60 ปีขึ้นไป มีประชากร 159,688 คน คิดเป็น 10.32 % ผู้สูงอายุ : เด็ก 100 คน = 52.9 ผู้สูงอายุ : คนวัยทำงาน 100 คน = 14.7 ที่มา : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, 31 ธันวาคม 2554
สถานการณ์ผู้สูงอายุ จังหวัดอุดรธานี ปีงบประมาณ ประชากรทั้งหมด (คน) ผู้สูงอายุ (คน) ร้อยละ ปี 2550 1,529,543 125,707 8.21 ปี 2551 1,532,851 126,040 8.22 ปี 2552 1,535,735 126,317 ปี 2553 1,541,339 135,698 8.80 ปี 2554 1,543,274 159,688 10.32 แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มติดสังคม ร้อยละ 80. 98 กลุ่มติดบ้าน ร้อยละ 17. 81 กลุ่มติดเตียง ร้อยละ 1. 21 สภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ
ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุ : ปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง และภาวะความเสื่อมสมรรถภาพของอวัยวะในร่างกาย สถานะทางสังคม: การพึ่งพิงวัยสูงอายุเพิ่มขึ้น อัตราส่วนเกื้อหนุนผู้สูงอายุลดลง แนวโน้มผู้สูงอายุอยู่คนเดียวเพิ่มขึ้น โรคที่พบบ่อย 5 อันดับ 1..ความดันโลหิตสูง 2. เบาหวาน 3. โลหิตจาง 4.ปวดหลัง ปวดเอ5. โรคหัวใจ อัตราการตาย 5 อันดับ 1.ปอดอักเสบ 2.ติดเชื้อในกระแสโลหิต 3. มะเร็งในถุงน้ำดี 4. กล้ามหัวใจวายเฉียบพลัน 5.หลอดเลือดสมองขาดเลือด