มุ่งสู่ฝันและความเป็นหนึ่ง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Medication reconciliation
Advertisements

กายภาพบำบัด ในผู้ป่วยภาวะวิกฤต รศ.สมชาย รัตนทองคำ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คอนสาย-ค้อใหญ่
โรคเลือดจางธาลัสซีเมีย ภัยแอบแฝงที่แก้ได้
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
THALASSEMIA 1 ตุลาคม 2552.
Thalassemia Patommatat MD.
Management of Pulmonary Tuberculosis
Lean ภาควิชาจิตเวชศาสตร์.
แบบทดสอบ ธาลัสซีเมีย : การแปลผลตรวจ และวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ
การให้การปรึกษาทางพันธุศาสตร์ ธาลัสซีเมีย
VDO conference dengue 1 July 2013.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
การดูแลผู้ป่วยเบาหวานครบวงจร ศูนย์แพทย์ชุมชนมะค่า
การนำร้านยาคุณภาพเข้าร่วมพัฒนาคุณภาพบริการ ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
ใกล้ไกล... ไปเป็นคู่ นายดุรากร จิตรดร เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน คลินิกพิเศษ โรงพยาบาลโพนพิสัย.
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
การดูแลผู้ป่วยเด็กในชุมชนและ การบริหารยาในเด็ก สำหรับพยาบาลเวชปฏิบัติ
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
เป้าหมายในช่วงฤดูการระบาด ลดการตาย เน้นการมี Dengue Corner ในโรงพยาบาล มี Case manager จังหวัดที่มีอัตราผู้ป่วยตายเกิน 0.12 เป็นพื้นที่ที่กระทรวงให้ความสำคัญ.
แนวทางการให้ยาต้านไวรัสในหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีและทารกในกรณีต่างๆ
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
โครงการป้องกันและควบคุมโรค ธาลัสซีเมีย
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
โครงการพัฒนาเครือข่ายการดูแลผู้ป่วย เด็กโรคธาลัสซีเมีย จังหวัดอุดรธานี
ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย
การดำเนินงานแก้ไขปัญหา การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ห้องคลอด
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
- กลุ่มโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน Acute coronary syndrome (ACS)
โดย นางนวลใย วรรณเวช พยาบาลวิชาชีพ 7 กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลพัทลุง
นโยบายคุณภาพ Quality Policy
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
Incidence of Thalassemia carrier in Thailand
โรคติดต่อทางพันธุกรรม
การปรับเวลาของการบริหารยาให้เข้ากับรอบเวลาให้ยาปกติ
อัตราการเรียกเก็บค่ารักษาพยาบาลกรณีผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลนครพนม
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ความคงตัวของยาฉีดหลังผสม / วิธีบริหารยา และสารละลายเจือจางที่เหมาะสม
ความสุขที่กลับมาเหมือนเดิม
โรคเบาหวาน ภ.
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
ความสำคัญของปัญหา พันธุกรรมทางโลหิตวิทยา พบได้บ่อย ถ่ายทอดได้ ( autosomal recessive ) มีความรุนแรงมาก ตั้งแต่ตายในครรภ์ หรือตายหลังคลอด เป็นทุกข์ต่อจิตใจของผู้ป่วยและบิดา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
การดำเนินงานดูแลผู้ป่วยต้อหิน จังหวัดร้อยเอ็ด 2011
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
การดูแลหญิงตั้งครรภ์แนวใหม่
SEPSIS.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
Thalassemia Sudawadee Ekwitayawechnukul, MD. Thalassemia Treatment Complication of thalassemia Complication of secondary hemochromatosis Iron chelation.
พญ. พิชญานันท์ คู่วัจนกุล กุมารแพทย์ สาขาโลหิตวิทยาและมะเร็ง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มุ่งสู่ฝันและความเป็นหนึ่ง Thalassemia Udonthani

เป้าหมาย ผู้ป่วยโรคเลือดจางธาลัสซีเมียไดัรับการรักษาถูกต้องตามมาตรฐาน การรักษาถูกต้องตามมาตรฐาน ผู้ป่วยได้รับเลือดอย่างเหมาะสม ผู้ป่วยได้รับยาขับเหล็กอย่างเพียงพอ มีการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนจากโรคและการรักษา

เราได้เรียนรู้แลกเปลี่ยน มีการจัดอบรมวิชาการเรื่องธาลัสซีเมีย 2 ครั้ง มีการจัดทำ clinical practice guideline การส่งผู้ป่วยผู้ใหญ่บางส่วนออกไปรับเลือดที่โรงพยาบาลชุมชน มีการส่งผู้ป่วยเด็กที่เดินทางลำบากบางรายกลับไปให้เลือดตามวันที่กำหนด มีการส่งผู้ป่วยกลับไปฉีดยาขับเหล็กที่โรงพยาบาลใกล้บ้าน มีการส่งผู้ป่วยกลับไปเจาะเลือดที่โรงพยาบาลใกล้บ้านในกรณีเริ่มยาขับเหล็กครั้งแรกเพื่อmonitor complication

Dream come true รพศ. กำหนดแนวทางการดูแล คลังเลือด มีเลือดเพียงพอ ใกล้บ้านอุ่นใจ รพศ. กำหนดแนวทางการดูแล รพช. มีระบบปรึกษาและส่งต่ออย่างเหมาะสม Dream come true รักษาปลอดภัย คลังเลือด มีเลือดเพียงพอ มีความสุข

สิ่งใหม่ ๆ ที่อยากให้เกิดขึ้น 1. ผู้ป่วยสามารถรับเลือดและยาขับเหล็กที่โรงพยาบาลใกล้บ้านได้ 2. มีนัดติดตามอาการที่โรงพยาบาลศูนย์ 3. มีการส่งต่อข้อมูลที่ดี

โรคธาลัสซีเมีย ประกอบด้วย β thalassemia major β/E HbH, HbH/Cs AE Bart’s disease EF Bart’s disease นอกเหนือจากนี้ไม่ต้องให้กิน folic acid หากผู้ป่วยมีภาวะซีดควรหาสาเหตุอื่น

การให้เลือด แบ่งเป็น สองกลุ่มใหญ่ ๆ Intermittent transfusion ให้เฉพาะเวลามีอาการ หรือ Hb < 7 g/dl Regular transfusion ให้เลือดสม่ำเสมอแบ่งเป็น Low, High transfusion

Blood transfusion 12-15 ml/kg 10ml/kg 4

High transfusion

Management depend on severity of disease

Thalassemia intermedia Pretransfusion Hb Hb>7 F/U Hb q 1 mo x 2-3 times Hb<7 Thalassemia major low transfusion High transfusion bone marrow transplantation Hb 7-9 Thalassemia intermedia Hb >9 Thalassemia minor folic acid β/E, β major

ClinicalPractice guideline for Thalassemia Udonthani hospital Guideline for /E [major/intermedia],  thal disease Clinical  No anemic symptom  Anemic symptom  Liver …. Cm  Spleen … cm CM Rx Admit for high transfusion LPRC 12-15 ml/kg/dose Serum ferritin q 6 months F/U  1, 2 weeks if pretransfusion Hb < 9 g/dl  3 weeks if pre-transfusion Hb  9 g/dl x 1 time Or Hb 8-9 g/dl หากบ้านไกลหรือมาลำบาก  4 weeks if pre-transfusion Hb  9 g/dl x 2 times

ClinicalPractice guideline for Thalassemia Udonthani hospital Guideline for /E intermedia or minor Clinical  No anemic symptom  Anemic symptom  Liver …. Cm  Spleen … cm CM  Hb  9 g/dl Rx - folic acid 1 tab oral OD # …. - ..……………………..... # …. F/U 1 months  Hb 7-9 g/dl  No anemic symptom Rx - folic acid 1 tab oral OD # …. - ..………………………. # …. F/U 1 months  Anemic symptom, fever Rx Admit for blood transfusion Hb < 7 g/dl Rx Admit for blood transfusion

Hb H, Hb H/Cs, AE Bart’s disease, EF Bart’s disease Pretransfusion Hb Hb < 8 Age < 5 years Hb < 7 Acute hemolysis ? Regular transfusion Hb 7- 8 folic acid Hepatosplenomegaly : Regular transfusion Age > 5 years Marked splenomegaly: splenectomy Hb >8 Hb H, Hb H/Cs, AE Bart’s disease, EF Bart’s disease

ClinicalPractice guideline for Thalassemia Udonthani hospital Guideline for HbH, Hb H/Cs Clinical  No anemic symptom  Anemic symptom  Liver …. Cm  Spleen … cm CM  Hb > 8 g/dl Rx - folic acid 1 tab oral OD # …. - ..……………………..... # …. F/U 3 , 6 months  Hb 7-8 g/dl  No anemic symptom Rx - folic acid 1 tab oral OD # …. - ..………………………. # …. F/U 1 , 2 months  Anemic symptom, fever with acute hemolysis Rx Advice splenectomy Admit for blood transfusion  Hb < 7 g/dl Rx Advice splenectomy

สรุป ในเรื่องการรักษา เดือนสิงหาคม 2556 ผู้ป่วย Hb H, Hb H/Cs, AE Bart’s disease, EF Bart’s disease, β/E minor หรือ intermedia ที่ไม่ได้ regular transfusion ทุกคนจะออกไปรักษาที่โรงพยาบาลชุมชนทั้งหมด ผู้ป่วยβ/E, β thal major จะถูกส่งกลับโรงพยาบาลชุมชนทั้งหมด ยกเว้นกรณีผู้ป่วยเด็กเล็กอายุน้อยกว่า 5 ปี เลือดหายาก หรือสมัครใจที่จะรักษาที่โรงพยาบาลอุดรธานี

ภาวะธาตุเหล็กเกิน ข้อบ่งชี้ในการให้ยาขับธาตุเหล็ก ระดับซีรัมเฟอร์ริติน (serum ferritin) สูงกว่า 1,000 ng/mL (ควรตรวจอย่างน้อย 2 ครั้งห่างกันอย่างน้อย 3 เดือน ) ยาขับธาตุเหล็ก Desferrioxamine (Desferal® or deferoxamine) Deferiprone ( GPO L1 ) Deferasirox (Exjade)

การ monitor ผู้ป่วย ในรายที่regular transfusion หลังจากได้เลือดครบ 1 ปีจะมีการเจาะ serum ferritin หลังจากนั้นจะ follow up ทุก 6 เดือนเป็นอย่างน้อย ในรายintermittent transfusion จะเจาะ serum ferritin ทุก 1 ปี

Desferrioxamine ขนาด 20-40mg/kg/วัน จํานวน 5 – 7 วัน/สัปดาห์ บริหารยาโดยการฉีดเท่านั้น นิยมฉีดเข้าใต้ผิวหนังโดยใช้เครื่องช่วยฉีดยา (infusion pump) ช้าๆ วันละ 8-12 ชั่วโมง Side effect Local reactions, Ophthalmologic and Auditory complication, Growth retardation and skeletal change, Acute pulmonary toxicity **high dose, Allergic reaction

Deferiprone ( GPO L1 ) Agranulocytosis พบได้ 0.5 % , neutropenia 2 %  CBC weekly ในช่วง 8สัปดาห์แรกหลังจากเริ่มยา หลังจากนั้นหากผู้ป่วยมีอาการไข้ให้หยุดยาและเจาะCBCเสมอ ภาวะนี้สามารถหายเองได้หากหยุดยา แต่ควรหลีกเลี่ยงการใช้ยานี้อีกต่อไป GI : N/V,diarrhea,abdominal pain Arthropathy Elevate ALT [serum alanine aminotransferase] : transient and resolve แม้ไม่หยุดยา

ยาขับเหล็ก ผู้ป่วยที่ได้รับยาขับเหล็กจะมีนัดที่โรงพยาบาลอุดรธานี ทุก 6 เดือน เพื่อเจาะระดับ serum ferritin และปรับยา ผู้ป่วยจะได้รับยาขับเหล็กจากโรงพยาบาลอุดรธานี 1 เดือน หลังจากนั้นจะให้กลับไปรับยาต่อที่โรงพยาบาลใกล้บ้าน Desferol 500 mg ราคา 220 บาท GPO L1 500 mg ราคา 5 บาท

การส่งต่อผู้ป่วย สมุดประจำตัวผู้ป่วย ประวัติของผู้ป่วยโดยสรุป Guideline สำหรับผู้ป่วยรายนั้น วันที่ CBC LPRC ferritin ยาขับเหล็ก other