ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การดูแลระยะตั้งครรภ์
Advertisements

รายละเอียดวิชา สัมมนา 1 หลักเกณฑ์ในการเลือกบทความ วิธีการเขียนบทคัดย่อ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
โรคเลือดจางธาลัสซีเมีย ภัยแอบแฝงที่แก้ได้
THALASSEMIA 1 ตุลาคม 2552.
กรมอนามัย กับ ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
ธาลัสซีเมีย ทำไมต้องตรวจ คืออะไร ตรวจแล้วได้อะไร สำคัญอย่างไร
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
แบบทดสอบ ธาลัสซีเมีย : การแปลผลตรวจ และวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
การให้การปรึกษาทางพันธุศาสตร์ ธาลัสซีเมีย
กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลน่าน
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ประเด็นการตรวจราชการ
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
โครงการป้องกันและควบคุมโรค ธาลัสซีเมีย
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
การดำเนินงาน ด้านเอดส์ในแม่และเด็ก
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โดย นางนวลใย วรรณเวช พยาบาลวิชาชีพ 7 กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลพัทลุง
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
การตรวจเลือดเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว
Incidence of Thalassemia carrier in Thailand
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ความสำคัญของปัญหา พันธุกรรมทางโลหิตวิทยา พบได้บ่อย ถ่ายทอดได้ ( autosomal recessive ) มีความรุนแรงมาก ตั้งแต่ตายในครรภ์ หรือตายหลังคลอด เป็นทุกข์ต่อจิตใจของผู้ป่วยและบิดา.
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
การดำเนินงาน PMTCT (การป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก)
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
การดูแลหญิงตั้งครรภ์แนวใหม่
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การให้คำปรึกษาแนะนำแก่หญิงตั้งครรภ์และคู่สมรส
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย YES NO

การพัฒนาระบบการส่งตรวจวินิจฉัยก่อนคลอดโรคธาลัสซีเมีย (PND) ด้วยวิธีการเจาะน้ำคร่ำ โดย ศูนย์อนามัยที่ 7 อุบลราชธานี

เป้าหมายงาน Thal คือ : การลดทารกเกิดใหม่ให้ป่วยเป็นโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง 3 โรค 1.Bart’s Hydrops Fetalis 2.Homozygous -thalassemia 3.-thal/ Hb E

กรมอนามัยได้กำหนดแนวทาง เพื่อลดโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง(3 โรค) ไว้ 4 ขั้นตอน ดังนี้ ให้ความรู้และให้การปรึกษา การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การวินิจฉัยก่อนคลอด (PND) *** การให้ทางเลือกแก่คู่สมรส เมื่อทราบว่า ทารกในครรภ์เป็นโรค

การประเมินผลดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย (เขต 11,14) ปี 2549 ผลการดำเนินงาน ปีงบฯ2549 New ANC (OF,DCIP) * 39,307 ราย 80.8 (%) Husband 74.1(%) Hb-typing/PCR 50.5/6.3 (%) Risk Couple 57 คู่ Risk Couple จริงที่ทำPND (36 คู่) 63.2 (%) Severe Thal 4 (ราย) *** Terminate (Pregnant) 1 ราย (33.3 %)

ผลการดำเนินงานปี 2549 จำนวนหญิงตั้งครรภ์และสามีที่ส่งตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด 57 ราย (ที่ มข.)

ปัญหา - ความครอบคลุมในการตรวจคัดกรอง และการตรวจยืนยันเพื่อวินิจฉัย จนถึง ขั้นตอนสิ้นสุดค่อนข้างต่ำ - ระบบเครือข่ายไม่เอื้ออำนวยต่อการ ตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด (PND) - ขาดการประสานงานที่มีประสิทธิภาพ ระหว่างผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง

นำไปสู่ การพัฒนาระบบบริหารจัดการเครือข่ายฯ ในปี 2550 โดยการพัฒนาศูนย์อนามัยที่ 7 เป็นศูนย์กลางเจาะน้ำคร่ำส่ง ตรวจเพื่อการวินิจฉัยทารกในครรภ์

เป็นคู่เสี่ยงต่อ Hb Bart”s hydrop รับบริการที่ สอ/ รพ.ต้นสังกัด ตรวจคัดกรองที่โรงพยาบาลต้นสังกัด OF/DCIP พบผลผิดปกติ เป็นคู่เสี่ยงต่อ Hb Bart”s hydrop ให้ส่ง PCR for α 1 trait ที่ศูนย์วิทย์ฯ ถ้าเป็นคู่เสี่ยงต่อ -thal diaease , Hb E disease ส่งตรวจ รพท./รพศ. (รพ.ต้นสังกัด สามารถแบ่งเลือดส่งตรวจไปพร้อมกันทั้ง 2 กรณีได้ ถ้าข้อจำกัดด้านอายุครรภ์ที่มากแล้ว) GA< 16 wk. หญิงตั้งครรภ์ และสามี เป็นคู่เสี่ยงต่อ Hb Bart”s hydrop เป็นคู่เสี่ยงต่อ -thal diaease / -thal /E- disease รพ.ที่มีสูติแพทย์ สามารถทำ Serial U/S และพิจารณา ทำยุติการตั้งครรภ์ รพ.ที่ไม่มีสูติแพทย์ หรือไม่สามารถ ดำเนินการต่อได้ เจาะน้ำคร่ำ ที่ ศูนย์อนามัยที่ 7 เพื่อส่ง ตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด (PND) (ก่อนเจาะน้ำคร่ำ จะเจาะเลือดคู่สมรสเพื่อ ส่งตรวจ PCR สาย  ที่ มข.) ในปีแรก - แช่เย็นนำส่งโดยทาง รถยนต์ราชการ(ไป-กลับภายใน 1 วัน) ปีที่ 2 –นำส่งทางไปรษณีย์ มข

ผลงาน ปี 2550 : พบคู่เสี่ยง 33 คู่ รวม 16 48.5 3 20.0 ชนิดของ ธาลัสซีเมีย ผลการตรวจวิเคราะห์เลือดด้วยวิธี PCRในคู่เสี่ยง (n=33) จำนวนที่เจาะน้ำคร่ำ/ ผลการตรวจวิเคราะห์น้ำคร่ำ (n=15) จำนวนคู่เสี่ยงจริง ร้อยละ จำนวน (คน)  0-thal / Hb E 11 68.8 1 33.3 Hb-Bart’s Hydrop Fetalis 5 31.2 2 66.7 รวม 16 48.5 3 20.0

ผลการดำเนินงานปี 2550 จำนวนคู่เสี่ยงที่ส่งต่อมาเพื่อมารับบริการตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด 33 ราย แยกรายจังหวัด

จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่เสี่ยงจริงที่มีโอกาสให้กำเนิดบุตร เป็นโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงแยกรายจังหวัด ปี 50 (รวม 16 ราย =48.5%)

ศอ. 7 ทำหนังสือแจ้งเวียนการดำเนินงานตามเครือข่ายใหม่ ให้กับ สสจ ศอ.7 ทำหนังสือแจ้งเวียนการดำเนินงานตามเครือข่ายใหม่ ให้กับ สสจ.ทุกแห่ง ประสานต่อให้ รพ.ได้พิจารณา/ถือปฏิบัติ ประเมินผล : โดย - ระบบรายงาน - ติดตามประเมินผลระบบการ ดำเนินงานใน รพศ/รพท.

ผลพบว่า : 1. จากการนิเทศติดตามพบ : เกิดศูนย์บริการเจาะน้ำคร่ำฯ ที่ รพศ.สปส. เพียงแห่งเดียว 2. ข้อมูลการดำเนินงาน ส่วนใหญ่มีเฉพาะผลการ ตรวจคัดกรองฯ

ผลงานหลังจากสิ้นสุดการพัฒนาระบบฯ ที่ ศอ.7 ........ถ่ายทอดระบบสู่เครือข่ายฯ ผลการดำเนินงาน ปี 2552 ปี 2553 New ANC (OF,DCIP) 94.0% 96.4% Husband 40.4% 55.2% Hb-typing/PCR Risk Couple ( ราย) Risk Couple (PND) (ราย) Severe Thal (ราย) Terminate (Pregnant)

ประเด็นที่พบ : จากการผลประเมินฯ ในปี 2551-2552 ประเด็นที่พบ : จากการผลประเมินฯ ในปี 2551-2552 - พบมีการปรับเปลี่ยนแนวทางการบริหารจัดการงบประมาณของประเทศ ปี 2551 การคัดกรองในหญิงตั้งครรภ์ พบปัญหา หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ช้า ไม่คัดกรองกรณีอายุครรภ์เกิน 16 สัปดาห์ ไม่ส่งตรวจยืนยันเพื่อวินิจฉัยพาหะกรณี แอลฟ่า (บุคลากรไม่ทราบว่าต้องตรวจ / งบประมาณจำกัด) การให้คำปรึกษาไม่มีประสิทธิภาพ (ผู้ให้คำปรึกษาแปลผลไม่ได้ / ไม่ทราบว่าเป็นคู่เสี่ยง)

ประเด็นที่พบ: จากการผลประเมินฯ ในปี 2551-2552 ประเด็นที่พบ: จากการผลประเมินฯ ในปี 2551-2552 (ต่อ) ผู้รับบริการเข้าไม่ถึงบริการ /แบกรับค่าใช้จ่ายการเดินทางไปรับบริการฯ (ซึ่งอยู่ไกล) ขาดการมีส่วนร่วมของนักเทคนิคการแพทย์ในการดำเนินงานฯ/ส่งต่อให้กับผู้เกี่ยวข้อง การส่งต่อคู่สมรส/ติดตามคู่เสี่ยง ขาดการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ ระบบข้อมูลในขั้นตอนการส่งตรวจยืนยัน....การทำ PND ขาดการรวบรวมและส่งต่อข้อมูล ที่เป็นระบบฯ

เราจะก้าวต่อไป. เพื่อการพัฒนาที่ดีขึ้นในงานธาลัสซีเมีย เพราะว่า เราจะก้าวต่อไป.....เพื่อการพัฒนาที่ดีขึ้นในงานธาลัสซีเมีย เพราะว่า....พวกเราชาว สา”สุข ได้ชื่อว่าเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพมากที่สุด...เหนือกว่าบุคลากรของ กระทรวงใดๆ ในประเทศไทย