วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามกุฎราชกุมาร นางลาวัลย์ ฉัตรวิรุฬห์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร.
การประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
การจัดสรรงบประมาณ โครงการเด็กไทยเฉลียวฉลาด ประเทศชาติแข็งแรง
การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ในเขตสุขภาพ
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
งบประม าณ เงินทุน หมุนเวียนฯ งบบุคลากร ล้านบาท งบดำเนินงาน ล้านบาท ล้านบาท งบบุคลากร 4. 8 ล้านบาท งบดำเนินงาน 619 ล้านบาท
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย ปี 2551
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
สถานการณ์เอดส์ เด็ก 28 ราย ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์สะสม ทั้งจังหวัด
ชุมชนคลองตาแป้น ศูนย์บริการสาธารณสุข 62 ตวงรัชฏ์ ศศะนาวิน ภักดี ฐานปัญญา
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
โครงการ "ฟันเทียมพระราชทาน"
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
เป้าหมาย สตรีอายุ ปี 240,279 ผลงาน 65,541 (27.28 %) ผิดปกติ/ ส่งต่อ
การนิเทศติดตาม.
สรุปผลการดำเนินงานการแพทย์แผนไทยโซน
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
งานวัยทำงาน กลุ่มเป้าหมาย พ่อ แม่ และประชาชนในวัยทำงาน
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัด ใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2554 รณรงค์ 1 มิย. – 31 สค 54 จำนวนวัคซีน 6 พันโด๊สในบุคลากร & 4.5 หมื่นโด๊ส ในประชาชน โรงพยาบาลเป็นหน่วยบริการหลัก.
ดำเนินงานอนามัยวัยทำงาน ปี 2555
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
โครงการ ฝึกอาชีพการเกษตรเฉพาะด้าน ปี 51
ITกับโครงการ Food safety
ระบบเตือนภัยศัตรูพืช
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
กรมสุขภาพจิต. สรุปการดำเนินงาน โครงการรวมใจปรองดอง สมานฉันท์ กิจกรรมการ เยียวยาจิตใจ จำนวนรายชื่อผู้ได้รับผลกระทบ ผู้ได้รับบาดเจ็บและ ผู้เสียชีวิต ที่มีชื่อ.
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การกำกับดูแลโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ และโฆษณาสถานพยาบาล
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ ตัวชี้วัดที่กรมควบคุมโรครับผิดชอบ ในการตรวจราชการกระทรวง สาธารณสุข ปี กุมภาพันธ์ 2556.
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค กลุ่มประชากรวัยทำงาน ปีงบประมาณ 2551 วัตถุประสงค์ พัฒนาระบบบริการ สำหรับกลุ่มประชากรวัยทำงาน (วัยเจริญพันธุ์ + วัยทอง) ให้มีมาตรฐานและมีคุณภาพ เฝ้าระวังและคัดกรองโรคที่ส่งผลกระทบต่อระบบบริการทางการแพทย์และสาธารณสุข เช่น มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม พัฒนาความรู้ ความสามารถของบุคลากรแพทย์และสาธารณสุขให้สามารถให้บริการได้มาตรฐานและมีคุณภาพ

เป้าหมาย - ประชากรวัยเจริญพันธุ์ มีการใช้วิธีคุมกำเนิดแบบกึ่งถาวร/ถาวร - ประชากรวัยเจริญพันธุ์ มีการใช้วิธีคุมกำเนิดแบบกึ่งถาวร/ถาวร ที่เหมาะสม - สตรีอายุ 30 – 45 ปี ได้รับบริการคัดกรองด้วยวิธี VIA -- - ประชากรวัยทอง (หญิง 45 – 59 ปี, ชาย 40 – 59 ปี) ในพื้นที่ เป้าหมาย ได้รับการดูแล/ เฝ้าระวังป้องกันโรคทั้งเชิงรับและเชิงรุก - โรงพยาบาลเปิดให้บริการคลินิกวัยทองหญิง ชาย 24 แห่ง (ศูนย์เขตละ 2 จังหวัด)

งานวางแผนครอบครัว ศูนย์เขตฯ - สนับสนุนข้อมูลด้านวิชาการ/เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ความรู้ เรื่องวางแผนครอบครัว - จัดอบรมหลักสูตรต่างๆ 1 หลักสูตรผู้ให้บริการใส่ห่วงอนามัยและยาฝังฯ (ใช้งบกองฯ ) 2 อบรมหลักสูตรแพทย์ให้บริการทำหมันชาย/หมันหญิง

จังหวัด - รวบรวมแบบสำรวจความต้องการและพิจารณาส่งชื่อ จังหวัด - รวบรวมแบบสำรวจความต้องการและพิจารณาส่งชื่อ เข้ารับการอบรมทั้ง 2 หลักสูตร - กำหนดเป้าหมายผู้รับบริการหมันหญิง/หมันชาย (ตามงบฯ ที่ได้รับจาก สปสช.) - พิจารณาจ่ายค่าตอบแทนบริการให้แก่หน่วยงาน (ใช้งบฯ สปสช เขต) หมันหญิง รายละ 2,000 บาท หมันชาย รายละ 1,000 บาท - จัดซื้อยาเม็ด, ยาฉีด, ห่วง, ยาฝัง สนับสนุนหน่วยบริการ - ผลิตสื่อ และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ (ใช้งบฯ สปสช เขต)

งานป้องกันมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี VIA ศูนย์ฯ - ร่วมกับกองอนามัยการเจริญพันธุ์ดำเนินการจัดอบรม และเป็น วิทยากรอบรมบุคลากรสาธารณสุข ในการคัดกรองมะเร็งปาก มดลูก ด้วยวิธี VIA - ร่วมนิเทศติดตามการดำเนินโครงการฯ ของจังหวัด ร่วมกับส่วนกลาง - ติดตามรวบรวมข้อมูลผลการดำเนินงานในพื้นที่ส่งกรมฯ ทุก 3 เดือน

จังหวัด - ร่วมกับกองอนามัยการเจริญพันธุ์ ดำเนินการจัดอบรมบุคลากรสาธารณสุข - ปี2551 จังหวัดเชียงใหม่ ได้รับการคัดเลือกให้เป็น1ใน6จังหวัดใน โครงการศึกษาวิจัยนำร่องการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในรูปแบบใหม่ (กองอนามัยการเจริญพันธุ์จะประชุมชี้แจงและทำความเข้าใจกับผู้บริหาร และบุคลากรที่เกี่ยวข้องเป็นรายจังหวัด) - เข้าร่วมสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับจังหวัดที่ทำ KM 3 จังหวัด ( ร้อยเอ็ด หนองคาย และยโสธร) จังหวัดเสียค่าลงทะเบียนคนละ4,000 บาท

กองอนามัยการเจริญพันธุ์ - จัดอบรมบุคลากรสาธารณสุขในโครงการVIA - อบรมวิทยากร VIA 18 - 29 กุมภาพันธ์ 2551 - อบรม Provider 25 สิงหาคม - 5 กันยายน 2551 - อบรมผู้รับผิดชอบข้อมูล 20-21มีนาคม 2551 - ดำเนินการรวบรวมตรวจสอบความถูกต้อง/บริหารจัดการข้อมูล

โครงการส่งเสริมสุขภาพวัยทอง ดำเนินการในจังหวัดเชียงรายและจังหวัดแพร่

แนวทางการบริหารจัดการงบประมาณ โครงการส่งเสริมสุขภาพและเฝ้าระวังโรควัยทำงาน Vertical program ปี 2551

โครงการให้บริการคุมกำเนิด กิจกรรมที่ใช้งบประมาณ กรมอนามัย กิจกรรมที่ใช้งบฯ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด - ส่งพยาบาลเข้ารับการอบรม ใส่ห่วง (เบิกงบกรมอนามัย) - ส่งแพทย์เข้ารับการอบรม (เบิกงบจากกรมอนามัย) - พัฒนาความรู้บุคลากรสาธารณสุข 1.1 อบรมพยาบาลให้บริการใส่ห่วง อนามัย (3 รุ่น) 1.2 อบรมแพทย์ให้บริการทำหมัน หญิง/หมันชาย 1.3 จัดซื้อยาเม็ด Exluton สนุนจังหวัด

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด กิจกรรมที่ใช้งบประมาณ กรมอนามัย กิจกรรมที่ใช้งบฯ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด - จ่ายค่าตอบแทนการบริการ ให้แก่ หน่วยบริการ หมันหญิง รายละ 2,000 บาท หมันชาย รายละ 1,000 บาท จัดซื้อเวชภัณฑ์คุมกำเนิด (ยาเม็ด, ยาฉีด, ห่วงอนามัยและยาฝังคุมกำเนิด) สนับสนุนหน่วยบริการ - รายงานผลการปฏิบัติงาน

(จังหวัดเชียงใหม่, จังหวัดน่าน) โครงการ VIA (จังหวัดเชียงใหม่, จังหวัดน่าน) กิจกรรมที่ใช้งบประมาณ กรมอนามัย กิจกรรมที่ใช้งบฯ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด จัดอบรม Provider จัดอบรมการพัฒนาข้อมูล การตรวจคัดกรองฯ (CPIS) นิเทศติดตาม จ่ายค่าตอบแทนหน่วยบริการ (สปสช.) - ค่าให้บริการคัดกรอง VIA 20บาท/ราย - ค่าบันทึกข้อมูลลงโปรแกรม 5 บาท/ราย - ค่าจี้เย็นในรายที่ผิดปกติ 30 บาท/ราย

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด กิจกรรมที่ใช้งบฯ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด - ค่าส่งต่อในรายที่ผิดปกติ และติดตามผล 20 บาท/ราย - ค่าทำ Colposcope ในรายที่ผิดปกติ 30 บาท/ราย รายงานผลการให้บริการตามระบบข้อมูล