ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ ปัจจัยแห่งความสำเร็จของ คปสอ.นายูง - นำตัวชี้วัดที่ผลงานต่ำกว่าร้อยละ 70 จากการประเมินใน รอบปีที่ผ่านมามาพิจารณาร่วมกัน - กำหนดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจนในแต่ละตัวชี้วัด - ทำงานเป็นทีมอย่างเข้มแข็ง - เก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ - ประสานงานกับผู้รับผิดชอบงานระดับจังหวัด ในกรณีที่ไม่เข้าใจ - ติดตามการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง - มีการประชุมเพื่อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงาน ของแต่ละตัวชี้วัดจากผู้นิเทศในระดับโซน 4
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ ข้อเสนอแนะของ คปสอ.นายูง 1. ทีมจังหวัดควรมีการหาปัจจัย/สาเหตุ ตัวชี้วัดที่มี คะแนนต่ำเป็นเพราะเหตุใด เช่น ตัวชี้วัดที่มีคะแนนต่ำทุกอำเภอ 2. KPI ควรระบุกระบวนการดำเนินงานที่ชัดเจนเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จ 3. ทีมระดับจังหวัดควรมีการนิเทศติดตามงาน อย่างต่อเนื่องมากกว่าปีละ 1 ครั้ง 4. ผู้รับผิดชอบงานใน คปสอ. ควรมีความเชื่อมั่น ในตัวชี้วัดว่าสามารถพัฒนางานได้จริง
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ คปสอ.เพ็ญ 1. กำหนดคณะทำงานรับผิดชอบงาน ที่ชัดเจนเป็น 9Q 2. ผู้บริหารต้องได้ใจลูกน้อง 3. สร้างแรงจูงใจในการทำงาน
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ ข้อเสนอแนะ คปสอ.เพ็ญ จังหวัดและอำเภอร่วมกันหาส่วนขาดของตัวชี้วัดที่ได้คะแนนน้อย เพื่อพัฒนาให้ให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ในปีต่อไป
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ ข้อเสนอแนะ คปสอ.กุดจับ 1. ควรให้เงินรางวัล/รางวัล แก่อำเภอที่สามารถดำเนินงานได้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด (เช่น ร้อยละ 85) 2. KPI ที่ประเมินควรวัดเฉพาะที่สำคัญเพื่อไม่ให้มีตัวชี้วัดมากเกินไป และตัวชี้วัดบางตัวไม่ต้องประเมินแต่ให้ติดตาม ควบคุม กำกั 3. งานอนามัยโรงเรียน ให้ สสจ. ประสานแจ้ง ผอ. เขต ในระดับจังหวัดให้เลือกโรงเรียนเป้าหมาย แล้วจึงแจ้ง คปสอ.ให้สนับสนุนวิชาการแก่ ร.ร. เป้าหมายนั้น 4. การนิเทศงานควรมากกว่าปีละ 1 ครั้ง
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ ข้อเสนอแนะ คปสอ.สร้างคอม 1. การที่เจ้าหน้าที่รับผิดชอบหลายงาน ทำให้การพัฒนางานตาม KPI ไม่บรรลุ แต่ คปสอ. สร้างคอมจะมีผลงานดีเด่นระดับจังหวัดและระดับเขตเฉพาะงาน เช่น งานควบคุมโรค งาน อสม. 2. คปสอ.ขนาดเล็ก ส่วนใหญ่มีปัญหาเรื่อง 4 M ทำให้การพัฒนาตัวชี้วัดบางตัวทำได้ยาก 3. ผู้นิเทศงาน/ผู้ประเมิน ควรประเมินโดยเน้นกระบวนการมากกว่าผลลัพธ์อย่างเดียว
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ ข้อเสนอแนะ คปสอ.หนองแสง 1. จังหวัดและอำเภอ ควรสร้างความเข้าใจที่ตรงกันเกี่ยวกับ KPI template ที่ประเมิน 2. งานที่ไม่ได้ทำเฉพาะฝ่าย สธ. ฝ่ายเดียวจังหวัดไม่นำมาเป็นตัวชี้วัดที่ประเมิน คปสอ. เช่น กองทุนฯ มีแผน แต่ให้ติดตามนิเทศงาน
สรุปข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาการประเมิน คปสอ. KPI ที่ประเมินควรวัดเฉพาะที่สำคัญเพื่อไม่ให้มีตัวชี้วัดมากเกินไป และตัวชี้วัดบางตัวไม่ต้องประเมินแต่ให้ติดตาม ควบคุม กำกับ ควรให้เงินรางวัล/รางวัล แก่อำเภอที่สามารถดำเนินงานได้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด(เช่น ร้อยละ 85)หรือจัดเป็นเกรด A B C จังหวัดและอำเภอร่วมกันหาส่วนขาดของตัวชี้วัด ที่ได้คะแนนน้อย เพื่อพัฒนาให้ให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ในปีต่อไป และควรมี Intervention ลงไปช่วยสนับสนุนการดำเนินงานของ คปสอ. 4. การนิเทศงานควรมากกว่าปีละ 1 ครั้ง 5. KPI ควรวัดที่กระบวนการไม่ควรวัดที่ผลลัพธ์เพียง อย่างเดียว