งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

อัตราผลสำเร็จของการรักษาวัณโรค (TB Treatment Success rate ร้อยละ 87)
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
แนวทาง การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
ไข้เลือดออก.
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
สถานการณ์โรค เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดชัยภูมิ
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม –19 เมษายน 2551 สัปดาห์ที่ 16_ปี2551 ต่อแสนประชากร เขตตรวจราชการ.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552_ 13 มิถุนายน 2552 สัปดาห์ที่ 23 ปี 2552 ต่อแสนประชากร ที่มา.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม มกราคม สัปดาห์ที่ 2 ปี 2553 ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 18 มกราคม 52 สัปดาห์ที่ 2_ปี2552 ต่อแสนประชากร ที่มา :
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 สิงหาคม 2551 สัปดาห์ที่ 32_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 10 พฤศจิกายน 2550 ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 กุมภาพันธ์ 2551 สัปดาห์ ที่ 6_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม – 10 พฤษภาคม 2551 สัปดาห์ที่ 19_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ปี 2550 (1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2550) ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
สรุปสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ ประจำเดือนธันวาคม 2549(ณ สัปดาห์ที่ 51)
กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขก.. สถานการณ์เฝ้าระวังผู้ป่วยสงสัยไข้หวัดนก ในพื้นที่ สคร.6 ขก. ปี 2549 (1 มค.- 22 พย.49)
กราฟที่ 1 อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 13 ตุลาคม 2550 ต่อแสนประชากร.
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
สรุปผลการสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
สรุปการประชุม เขต 10.
ประเด็นปัญหาสาธารณสุขและแผนงานโครงการ ตำบลห้วยไร่ ปี 2557
ไข้เลือดออก.
รายงานการเฝ้าระวังโรคช่วงสถานการณ์อุทกภัย จังหวัดนครปฐม 21 พฤศจิกายน 2554 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา ข้อมูล ณ 20 มิถุนายน 2550 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนพฤษภาคม 2554 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัด ใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2554 รณรงค์ 1 มิย. – 31 สค 54 จำนวนวัคซีน 6 พันโด๊สในบุคลากร & 4.5 หมื่นโด๊ส ในประชาชน โรงพยาบาลเป็นหน่วยบริการหลัก.
สรุปผลงานตามตัวชี้วัด ร้อยละ รพ.สต.ที่ดำเนินงาน คบส. ประจำปี 2555
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
ปี2554 หญิงตั้งครรภ์ขาดสารไอโอดีน % มัธยฐาน ไมโครกรัมต่อลิตร สสจ. อุดรธานี ; 2554,2555 ผลการตรวจปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ เพื่อหาภาวการณ์ขาดสารไอโอดีน.
งบประมาณ โครงการไข้หวัดใหญ่ จาก สปสช.
แนวทางการดำเนินงาน วัคซีนไข้หวัดใหญ่ตาม ฤดูกาล 2554 จังหวัดอุดรธานี
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
จำนวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิด เอ (H1N1)
ตัวชี้วัดงานอาชีวอนามัย ความสำเร็จการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ปี 2555 ร้อยละของความสำเร็จ การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล.
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
ผู้ป่วยไข้เลือดออกจังหวัด กำแพงเพชร ปี 2556 พบผู้ป่วย 484 ราย อัตราป่วย ต่อแสน พบผู้ป่วย เสียชีวิต 1 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.21 ข้อมูล ณ 23 มิถุนายน.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ปี 2556
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
การเร่งรัดควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี พ.ศ.2557
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
ระหว่างวันที่ พฤษภาคม 2550 ได้รับรายงานผู้ป่วยเฝ้า ระวังทางระบาดวิทยาที่สำคัญ ดังนี้ 1. โรคไข้เลือดออก จำนวน 24 ราย 2. โรคเลปโตสไปโรซีส จำนวน 2 ราย.
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
สาขาโรคมะเร็ง.
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ วันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๔ ๑. ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ๒๐๐๙ และการรายงาน ILI ๒. สถานการณ์โรค ๑๐ ลำดับ จังหวัดอุดรธานี ๓. สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี ๔. รายงานความทันเวลาของ รายงาน ๕๐๖ ๕. โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี ๒๕๕๔

จำนวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิด เอ (H1N1) จำแนกรายอำเภอ จังหวัดอุดรธานี ข้อมูลวันที่ 1 ม.ค. - 25 พ.ค. 54 หนองคาย N นายูง อ.ท่าบ่อ สร้างคอม บ้านดุง เลย น้ำโสม เพ็ญ บ้านผือ ทุ่งฝน พิบูลย์รักษ์ กุดจับ เมือง หนองหาน สกลนคร หนองบัวลำภู หนองวัวซอ กู่แก้ว ไม่มีรายงานผู้ป่วย ก.ประจักษ์ ไชยวาน กุมภวาปี พบผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ชนิด เอ (H1N1) หนองแสง วังสามหมอ ศรีธาตุ โนนสะอาด จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 0 ราย ผู้ป่วยเสียชีวิต 0 ราย กาฬสินธุ์ ขอนแก่น

ที่มา: งานระบาดวิทยา สสจ.อุดรธานี จำนวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ จังหวัดอุดรธานี จำแนกตามวันเริ่มป่วย ข้อมูลวันที่ 1 ม.ค. 53 – 25 พ.ค. 54 = เสียชีวิต ยังไม่พบผู้ป่วย ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค.54 ก.พ.54 มี.ค.54 เม.ย.54 พ.ค.54 จำนวนผู้ป่วย 0 ราย อัตราป่วย 0.00 /ประชากรแสนคน , จำนวนผู้เสียชีวิต 0 ราย ที่มา: งานระบาดวิทยา สสจ.อุดรธานี

แสดงค่าเฉลี่ย 7 วัน ของสัดส่วนผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ต่อผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่รับการรักษาในจังหวัดอุดรธานี (สัปดาห์ที่ 1-20) 1.86%

จำนวนวันของการส่งรายงาน ILI จำแนกรายสถานบริการ ระหว่าง วันที่ 15 พ. ค ที่มา : สำนักระบาดวิทยา สัปดาห์ที่ 20 วันที่ 15 พ.ค.- 21 พ.ค.54

ที่มา: สำนักระบาดวิทยา สัปดาห์ที่ 20 สัดส่วนผู้ป่วย ILI จังหวัดอุดรธานี จำแนกรายสถานบริการ ตั้งแต่ 15 พฤษภาคม 2554 – 21 พฤษภาคม 2554 ร้อยละ ไม่ส่งข้อมูล 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 ที่มา: สำนักระบาดวิทยา สัปดาห์ที่ 20

อัตราป่วยด้วยโรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จ อัตราป่วยด้วยโรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จ.อุดรธานี ข้อมูล วันที่ 1 มกราคม - 25 พฤษภาคม 2554 อัตราป่วย ต่อ ประชากรแสนคน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 แหล่งข้อมูล : รายงาน 506 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ สสจ.อุดรธานี

สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ข้อมูล วันที่ 1 มกราคม – 25 พฤษภาคม 2554 ที่มา:สำนักระบาดวิทยา รายงานประจำสัปดาห์ที่ 21

จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำแนกรายเดือน จ จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำแนกรายเดือน จ.อุดรธานี ปี 2554 เปรียบเทียบมัธยฐาน 5 ปี (2549-2553) ,Base line ,Target line จำนวนผู้ป่วย

อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก รายอำเภอ จ.อุดรธานี อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก รายอำเภอ จ.อุดรธานี ข้อมูล วันที่ 1 มกราคม 2554 – 25 พฤษภาคม 2554 อัตราป่วย ต่อ ประชากรแสนคน 1 ราย 1 ราย 2 ราย 1 ราย 1 ราย 1 ราย 3 ราย จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 10 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 0.65 ต่อ ประชากรแสนคน ที่มา:รายงาน 506 งานระบาดวิทยา สสจ.อุดรธานี

อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก รายอำเภอ จ.อุดรธานี อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก รายอำเภอ จ.อุดรธานี ข้อมูล วันที่ 1 พฤษภาคม 2554 – 25 พฤษภาคม 2554 อัตราป่วย ต่อ ประชากรแสนคน 2 ราย 1 ราย 1 ราย 1 ราย 1 ราย จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 6 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 0.39 ต่อ ประชากรแสนคน ที่มา:รายงาน 506 งานระบาดวิทยา สสจ.อุดรธานี

HI จำนวน หมู่/ชุมชน ร้อยละ 16 19.3 1-10 25 30.1 มากกว่า 10 57 50.6 CI ผลการสุ่มสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำจังหวัดอุดรธานีเดือนพฤษภาคม 2554 โดย ทีมศตม.ที่ 6.2 อด. (ระหว่างวันที่ 9-26 พ.ค.54) HI จำนวน หมู่/ชุมชน ร้อยละ 16 19.3 1-10 25 30.1 มากกว่า 10 57 50.6 CI จำนวน ร.ร./ศูนย์เด็ก 37 97.4 มากกว่า 0 1 (ต.กุมภวาปี) 2.3

ผลการสุ่มสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำจังหวัดอุดรธานีเดือนพฤษภาคม 2554 โดย ทีมศตม.ที่ 6.2 อด. (ระหว่างวันที่ 9-26 พ.ค.54) CI จำนวนโรงพยาบาล ร้อยละ 17 100 มากกว่า 0 1 * *รพศ.อุดรธานี CI = 28.3 (พบบริเวณเรือนเพาะชำ เช่น จานรองกระถาง- ต้นไม้, กระป๋องสี, เศษวัสดุอุปกรณ์ที่ไม่ใช้ เป็นต้น

*สำรวจวันที่ 9-26 พฤษภาคม 2554 ผลการสุ่มสำรวจค่า HI ในหมู่บ้าน/ชุมชน จ.อุดรธานี แยกรายอำเภอ โดย ทีมศตม.ที่ 6.2 อุดรธานี เดือนพฤษภาคม 2554 ค่า HI : ค่า HI ≤ 10 (8 อำเภอ) : ค่า HI = 10 – 20 ( 8 อำเภอ/ เทศบาลนครฯ) : ค่า HI > 20 (3 อำเภอ) *สำรวจวันที่ 9-26 พฤษภาคม 2554

หมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย (HI = 0) เดือนพฤษภาคม 2554 (16 หมู่บ้าน) นายูง (4 หมู่) - บ.นายูง, ห้วยทราย ต.นายูง - บ.บ้านก้อง, โนนเมือง ต.บ้านก้อง สร้างคอม (3 หมู่) - บ.สร้างคอม, โนนชาด ต.สร้างคอม - บ.ดอนบาก, ต.บ้านโคก ทุ่งฝน (3 หมู่) - บ.ทุ่งฝน, กุดค้า ต.ทุ่งฝน - บ.โนนหนามแท่ง ต.นาทม

หมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย (HI = 0) เดือนพฤษภาคม 2554 (16 หมู่บ้าน) น้ำโสม (1 หมู่) - บ.ท่าลี่ ต.บ้านหยวก กู่แก้ว (1 หมู่) - บ.โนนถั่วดิน ต.คอนสาย หนองหาน (1 หมู่) - บ. หนองหาน ม.2 ต. หนองหาน หนองแสง (1 หมู่) - บ. หนองแสง ม.1 ต. หนองแสง

หมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย (HI = 0) เดือนพฤษภาคม 2554 (16 หมู่บ้าน) บ้านผือ (1 หมู่) - บ.หายโศก ม.1 ต.หายโศก เมือง (1 หมู่) - บ. ถ่อนน้อย ต.นาข่า โดย ทีมศตม.ที่ 6.2 อด. สำรวจวันที่ 9-26 พฤษภาคม 2554

ความครอบคลุมของสถานบริการ ในการส่งรายงาน 506 จำแนกรายอำเภอ จังหวัดอุดรธานี ตั้งแต่ วันที่ 1 - 25 พฤษภาคม 2554 ร้อยละความครอบคลุม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 แหล่งข้อมูล : รายงาน 506 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ สสจ.อุดรธานี

ความทันเวลาของ รายงาน 506 จำแนกรายอำเภอ จังหวัดอุดรธานี ตั้งแต่ วันที่ 1 – 25 พฤษภาคม 2554 ร้อยละความทันเวลา 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 แหล่งข้อมูล : รายงาน 506 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ สสจ.อุดรธานี

โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2554 รณรงค์ 1 มิย. – 31 สค 54 จำนวนวัคซีน 6 พันโด๊สในบุคลากร & 4.5 หมื่นโด๊ส ในประชาชน โรงพยาบาลเป็นหน่วยบริการหลัก รับบริการโดยความสมัครใจ โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2554

กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มบุคลากรทางการแพทย์รวมทั้งผู้กำจัดสัตว์ปีก หญิงมีครรภ์อายุครรภ์มากกว่า 7 เดือนขึ้นไป  บุคคลโรคอ้วน (นน.>100 กก หรือ BMI>35) ผู้พิการทางสมองที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้

กลุ่มเป้าหมาย บุคคลอายุ 2 ปีขึ้นไป – 65 ปี ที่มีโรคเรื้อรัง 9 กลุ่มโรค (COPD,หอบหืด, หัวใจ, หลอดเลือดสมอง, ไตวาย,,มะเร็งระหว่างเคมีบำบัด, เบาหวาน,ธาลัสซีเมีย, ภูมิคุ้มกันบกพร่องรวม HIV ที่มีอาการ) 6. บุคคลอายุ มากกว่า 65 ปี ขึ้นไปทุกคน 7. บุคคลอายุ 6 เดือน – 2 ปีทุกคน

1.รายละเอียดการสนับสนุนงบประมาณ สสจ. เพื่อดำเนินการในกิจกรรม (300,000 บาท) 1) ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ อสม. และจัดทำแผนการรณรงค์ 2) รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ แก่ประชาชนเป้าหมายพื้นที่ในจังหวัด/ อำเภอ/ตำบล 3) จัดทำแผนและดำเนินการกำกับ ติดตามประเมินผลในพื้นที่ สสจ. จัดสรรงบประมาณให้พื้นที่ ตามเป้าหมายวัคซีน

2. การสนับสนุนค่าชดเชยบริการแก่ หน่วยบริการ 2. การสนับสนุนค่าชดเชยบริการแก่ หน่วยบริการ พิจารณาจากผลงานที่บันทึกในโปรแกรมโครงการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ (Online) ใน Website NHSO ตั้งแต่ 1 มิถุนายน – 31 สิงหาคม 2554 ในประชากรกลุ่มเป้าหมาย

2.การสนับสนุนงบประมาณให้หน่วยบริการ 2.1.ข้อมูลที่ให้บริการ 1 มิย - 31 สค. 54 บันทึกภายใน 15 กย .54 ประชาชน 20 บาท/ราย , บุคลากร 10 บาท/ราย 2.2. ข้อมูลที่ให้บริการ 1 มิย - 31 สค. 54 บันทึกระหว่าง 16 กย. – 31 ตค. 54 ประชาชน 15 บาท/ราย ,บุคลากร 5 บาท/ราย หากบันทึกเกินช่วงเวลาดังกล่าว จะไม่ได้รับงบสนันสนุน

(ตามวัคซีนที่ได้รับจัดสรร) ตัวชี้วัด ร้อยละความครอบคลุมการให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลในประชากรกลุ่มเป้าหมาย (ตามวัคซีนที่ได้รับจัดสรร) 90%

สวัสดี