แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50
จำนวนผู้ป่วยยืนยันไข้หวัดนก (H5N1) ประเทศไทย พ.ศ หมายเหตุ : ป่วยสะสม 25 ราย เสียชีวิต 17 ราย (ข้อมูล ณ 23 มค 50) จำนวน ( ราย ) เดือ น พ. ศ. 2549
พื้นที่ที่พบผู้ป่วย ยืนยันและเสียชีวิต ไข้หวัดนก ปี พ. ศ รายที่ 1 จังหวัดพิจิตร รายที่ 2 จังหวัดอุทัยธานี รายที่ 3 จังหวัดหนองบัวลำภู
เชื้อไข้หวัดใหญ่ที่แยกได้จากผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ ปี 2550 จังหวัดนครปฐม แหล่งที่มา : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ( ข้อมูล ณ 20 มกราคม 50) จำนวน ( รา ย )
ระบบการรายงานเพื่อเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้หวัดนก อาสาสมัคร สาธารณสุข กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำชุมชน อาสาพัฒนาปศุ สัตว์ สถานี อนามัย สสอ / รพ. ศ./ รพช. ศูนย์ควบคุมป้องกัน ไข้หวัดนกอำเภอ, นายอำเภอ ปศุสัตว์ อำเภอ สำนักงานปศุ สัตว์จังหวัด นครปฐม สสจ. นครปฐม ศูนย์ประสานงานควบคุมป้องกัน โรคไข้หวัดนกจังหวัดนครปฐม ผู้ว่าราชการ จังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : เทศบาล / อบต.
1. หาข้อมูล : สำรวจแหล่งเลี้ยง แหล่งฆ่าและวิธีการเก็บรักษา 2. สุ่มตรวจหาเชื้อในไก่ และซากไก่ 3. จัดประชุมแจ้งแนวทางการดำเนินงาน 4. รณรงค์สำรวจในตลาดและตรวจฟาร์มต่าง ๆ 5. ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยง 6. ติดตามการสำรวจสัตว์ปีกตายผิดปกติอย่างต่อเนื่อง 7. เฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกทั้งในคนและในสัตว์ แนวทางดำเนินการช่วงตรุษจีน
กิจกรรมระยะเว ลา - สุ่มตรวจหาเชื้อใน ซากไก่ ในตลาด และการควบคุม มาตรฐาน - รณรงค์ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยง และประชาชนทั่วไป * เขตเทศบาลมีการเปิด รณรงค์ตลาดบน 1-8 กพ 8 กพ 50
แนวทางการส่ง Lab ไข้หวัดนก(ใหม่) รพ.ทุกแห่ง พบผู้ป่วยเข้าระบบคัดกรองไข้หวัดนก ส่งรายงานสสจ.นฐ ส่ง Lab กรมวิทย์ฯ Lab PCR