การจัดการความรู้ด้านสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๕ ส่งเสริมและพัฒนาระบบสารสนเทศชุมชน
Advertisements

ระบบส่งเสริมการเกษตร
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แบบประเมินระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.2 มีการพัฒนาสถาบันสู่องค์การ เรียนรู้โดยอาศัยผลการประเมินจาก ภายในและภายนอก ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน เนื่องจากบุคลากรแต่ละคนมีภาระงานที่ต้อง.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
เป็นนโยบายต่อเนื่อง ซึ่งกำหนดให้มี การพัฒนาหน่วยงานให้เป็นองค์กร แห่งการเรียนรู้ ด้านกำลังพล.
แผนยุทธศาสตร์กองทัพเรือ พ.ศ.๒๕๕๕ - ๒๕๕๘
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
ผลการดำเนินงาน ตค.50 – มค.51. รหัส ตัวชี้วัดเกณฑ์ผลการดำเนินงานจังหวัด เป้าหมาย(Y)ผลงาน (X)อัตร า (Z) 1001 ประชาชนที่มี หลักประกันสุขภาพ ได้รับบริการ.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
วัฒนธรรมกรมอนามัย.
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการความรู้ด้านสุขภาพ 0907 จังหวัดได้ดำเนินการจัดการความรู้ในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพหรือพัฒนาสาธารณสุขในชุมชน

การดำเนินงาน โครงการพัฒนาองค์ความรู้ด้านการวินิจฉัยโรคของเจ้าหน้าที่สถานีอนามัย จังหวัดนครปฐม

ผลการดำเนินงาน โครงการ/แผนงาน รหัส ตัวชี้วัด/เกณฑ์ ผลการดำเนินงาน เป้าหมาย ผลงาน อัตรา การจัดการความรู้ด้านสุขภาพ 0907 จังหวัดได้ดำเนินการจัดการความรู้ในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพหรือพัฒนาสาธารณสุขในชุมชน จังหวัดละ 1 กรณีศึกษา 1 100

ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน ผู้นำองค์กรมีความรู้ ความเข้าใจ ให้ความสำคัญและสนับสนุนการดำเนินงาน สร้างการมีส่วนร่วมของบุคลากรในองค์กร การกำหนดองค์ความรู้ที่จำเป็นที่ชัดเจน การติดตามโครงการอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ

ผลงานเชิงปริมาณ ผลจากการจัดประชุม การจัดประชุมอบรมความรู้เรื่องการจัดการความรู้และการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความรู้ด้านการวินิจฉัยโรคของเจ้าหน้าที่ในสถานีอนามัย จำนวน 2 ครั้ง ผลจากการจัดประชุม - แผนเตรียมความพร้อมด้านการจัดการความรู้ - แผนการสำรวจและเข้าถึงความรู้ - แผนการสร้างและแสวงหาความรู้

ผลงานเชิงปริมาณ (ต่อ) - แผนสะสมองค์ความรู้ - แผนการเผยแพร่ความรู้ในองค์กร - แผนการประยุกต์ใช้ความรู้กับการปฏิบัติงาน - แผนการธำรงรักษาความรู้ - แผนการสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้

ผลงานเชิงปริมาณ (ต่อ) - แผนการพัฒนาเทคโนโลยีสนเทศสนับสนุน การจัดการความรู้ - แผนการประชาสัมพันธ์แผนติดตามและประเมินผล

ผลงานในเชิงคุณภาพ การสร้างคลังความรู้ในสถานีอนามัยและสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของบุคลากรสาธารณสุข มีระบบฐานข้อมูลความรู้ด้านสุขภาพเผยแพร่ในระบบสารสนเทศของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม การนำเสนอความรู้ด้านต่าง ๆ ที่น่าสนใจหลังการประชุมประจำเดือนผู้บริหาร

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ การจัดการความรู้เป็นกระบวนการที่จำเป็นต้องขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่องทั้งในรูปแบบเป็นทางการและไม่เป็นทางการ การจัดการความรู้เป็นสิ่งใหม่ขององค์กรภาครัฐ บุคลากรต้องมีการปรับตัวด้านแนวคิดและการปฏิบัติ ควรเลือกและกำหนดเรื่องที่จะนำมาสู่กระบวนการจัดการความรู้ให้ชัดเจน