ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
Advertisements

โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
การเขียนบทความ.
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การเขียนผลงานวิชาการ
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
• เป็นความจริง เชื่อถือได้ • แตกต่างจากความรู้ เดิม • ใช้ประโยชน์ได้ • เหมาะกับบริบทและ ความต้องการ ของสังคม • เป็นสากล • นำไปสู่การพัฒนา หรือต่อยอด.
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
และการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การวิจัยแบบกรณีศึกษา (Case Study Research) อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
บทที่ 6 การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
( Organization Behaviors )
Management Information Systems
คุยกันก่อนเรียน สัมมนาสัตวศาสตร์ ปีการศึกษา 2551.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
ชื่อตัวบ่งชี้ 3.3 : มีการนำความรู้และประสบการณ์ จากการบริการวิชาการและ วิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการ สอนและการวิจัย ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน คณะฯ ยังขาดการรวบรวม.
การกำหนดปัญหาการวิจัย (Determining of Research Problem)
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การเขียนรายงานการวิจัย
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
แนวทางการประเมินผลงาน ทางวิชาการ
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
การเขียนรายงานการวิจัย
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
กระบวนการวิจัย Process of Research
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิธีการคิดวิเคราะห์.
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง

ปัญหาวิจัย (Research problem) หมายถึง ประเด็น ข้อสงสัยหรือคำถามที่ผู้วิจัยมีต่อปรากฏการณ์ และต้องการแสวงหาคำตอบให้ถูกต้อง ตรงกับสภาพความเป็นจริงในปรากฏการณ์นั้น ด้วยกระบวนการวิจัย

ลักษณะปัญหาวิจัยที่ดี หาคำตอบได้ด้วยวิธีการเชิงประจักษ์ สามารถแสวงหาข้อมูล หลักฐานต่างๆ เพื่อ ให้ได้ข้อสรุปที่เป็นคำตอบอย่างเชื่อถือได้

ปัญหาที่ไม่ดี / ไม่เป็นปัญหาวิจัย 1. ปัญหาที่เป็นข้อเท็จจริงที่ทุกคนยอมรับ 2. ปัญหาส่วนบุคคลเป็นจริงเฉพาะบุคคล 3. ปัญหามีความสำคัญน้อย หรือไม่มีความ สำคัญทางการศึกษาหรือศาสตร์นั้นๆ

แหล่งที่มาของปัญหาวิจัย 1. ทฤษฎี / แนวคิดใหม่ที่ผู้วิจัยสนใจ 2. สภาพปัญหา ประสบการณ์ในการทำงาน การดำรง ชีวิตของบุคคลหรือประสบการณ์ของผู้วิจัย 3. การอ่าน ศึกษาค้นคว้า หนังสือ วารสาร บทคัดย่องานวิจัย ข้อเสนอแนะในรายงานการวิจัยของผู้อื่น 4. การสอบถามผู้รู้ ผู้ชำนาญในสาขาวิชา

แหล่งที่มาของปัญหาวิจัย (ต่อ) แหล่งที่มาของปัญหาวิจัย (ต่อ) 5. การวิเคราะห์เหตุการณ์ ประเด็นปัญหาทางสังคม หรือการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในช่วงเวลานั้นๆ ที่ต้องการคำตอบแนวทางแก้ไขหรือทางออกของปัญหา 6. ความต้องการใช้ผลการวิจัยขององค์การและแหล่งทุนสนับสนุนการวิจัยต่างๆ กำหนดทิศทางการวิจัย (Term of reference) เพื่อเป็นกรอบหัวข้อวิจัย 7. ประเด็นจากที่ประชุมสัมมนาทางวิชาการ

กระบวนการกำหนดปัญหาวิจัย วิเคราะห์ (Analysis) สภาพปัญหาต่างๆ ในปัจจุบันโดยบรรยายระบุที่มาปัญหาแล้วสังเคราะห์ (Synthesis) เพื่อให้ได้ขอบเขต ประเด็นของปัญหาวิจัยและตัวแปรที่เกี่ยวข้องในปัญหาที่ผู้วิจัยสนใจ

ปัญหาวิจัยและตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับปัญหา สภาพปัญหา ปัญหาวิจัยและตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับปัญหา หัวข้อวิจัย ตัวแปรที่ผู้วิจัยสนใจ

แนวคิด ทฤษฎี หลักฐานบ่งชี้ สภาพปัญหา ปัญหาการวิจัย แนวคิด ทฤษฎี หลักฐานบ่งชี้ ตัวแปรสำคัญในการวิจัย เหตุผลความสำคัญ ในการวิจัย และคำถาม การวิจัย

เกณฑ์การประเมินความเหมาะสมของปัญหาวิจัย. 1 เกณฑ์การประเมินความเหมาะสมของปัญหาวิจัย 1. ความสำคัญของหัวข้อปัญหาการวิจัย โดยคำนึงถึง - คาดว่ามีผลกระทบทางบวก เป็นประโยชน์ต่อวิทยาการและวิชาชีพในสาขา รวมทั้งเกิดประโยชน์ต่อชุมชน สังคม - มีแนวคิด ทฤษฎีรองรับ - สอดคล้องเหตุการณ์ ความสนใจของบุคคล สังคม และความต้องการของสาขาวิชา - สามารถนำข้อค้นพบ / ข้อสรุปไปอ้างอิงโดยนัยทั่วไป (generalization) ในวงกว้าง สอดคล้องกับสภาพการณ์จริง

เกณฑ์การประเมินความเหมาะสมของปัญหาวิจัย (ต่อ) เกณฑ์การประเมินความเหมาะสมของปัญหาวิจัย (ต่อ) - ใช้วิธีการศึกษาวิจัยที่มีความก้าวหน้า ถูกต้อง เชื่อถือได้มากกว่าการวิจัยในทำนองเดียวกันที่ผ่านมา 2. ไม่ซ้ำซ้อน มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ในการแสวงหาคำตอบ 3. มีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติโดยคำนึงถึง - ความรู้ความสามารถของนักวิจัยด้านเนื้อหา และวิธี การดำเนินการวิจัย - ความพร้อมในการดำเนินงานของนักวิจัย - ความปลอดภัยต่อการเกิดความเสี่ยง 4. ความสนใจแท้จริงของผู้วิจัย

ปัญหา คืออะไร ปัญหามีสาเหตุมาจากอะไร ปัญหามีความเกี่ยวข้องกับใครบ้างตามลำดับ ปัญหาจะแก้ด้วยวิธีใด ปัญหาเมื่อได้รับการแก้ไขแล้วมีผลต่อใครบ้างตามลำดับ