และการประเมินแบบมีส่วนร่วม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
หลักการบันทึกข้อความ
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การเขียนผลงานวิชาการ
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
รายงานธุรกิจ.
กระบวนการวิจัย(Research Process)
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การวิจัยแบบกรณีศึกษา (Case Study Research) อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ครูเสน่ห์ อุ่นสิม จำใจเสนอ.
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
สำนักบริหารงานศิลปวัฒนธรรม
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
คุยกันก่อนเรียน สัมมนาสัตวศาสตร์ ปีการศึกษา 2551.
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
การติดตาม และประเมินโครงการ.
บทที่ 2 โครงการอบรม/สัมมนา.
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
เรื่อง การวางแผนประเมินโครงการ
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
และอนามัยสิ่งแวดล้อม
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
Communities of Practice (CoP)
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
SYSTEM ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
1 แบบวิจัย กิจกรรม ร้อยละร้อยละ สะสม 1. อนุมัติโครงการ จัดส่งโครงร่างเสนอ คกก. จริยธรรมวิจัย เมื่อวันที่... ได้รับอนุมัติเมื่อ วันที่ เริ่มดำเนินการ.
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
ข้อมูลและสารสนเทศ.
การเขียนรายงานการวิจัย
ระบบเตือนภัยศัตรูพืช
กระบวนการวิจัย Process of Research
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

และการประเมินแบบมีส่วนร่วม 10 คำถามสำหรับการประเมิน และการประเมินแบบมีส่วนร่วม รัตนะ บัวสนธ์ คำถามที่ 1 ประเมินคืออะไร คำตอบ การตัดสินคุณค่าและคุณประโยชน์ ของสิ่งที่ได้รับการประเมิน คำถามที่ 2 ประเมินอะไร คำตอบ สิ่งที่มุ่งทำการประเมิน คือ * บุคคล * องค์กร หน่วยงาน * โครงการ แผนงาน

10 คำถามสำหรับการประเมินและการประเมินแบบมีส่วนร่วม 10 คำถามสำหรับการประเมินและการประเมินแบบมีส่วนร่วม รัตนะ บัวสนธ์ คำถามที่ 3 ประเมินเพื่ออะไร คำตอบ เป้าหมายของการประเมิน * ตัดสินใจยุติ/ ขยายผล * ปรับปรุง แก้ไข พัฒนา * จัดวางบุคคล คำถามที่ 4 ต้องการข้อมูลสารสนเทศอะไร คำตอบ วัตถุประสงค์ประเมิน/ความต้องการรู้คำตอบ ในประเด็นต่าง ๆ เกี่ยวกับสิ่งที่ทำการประเมิน เพื่อนำคำตอบ ที่ได้รับมาประกอบการตัดสินใจตามเป้าหมายการประเมิน

10 คำถามสำหรับการประเมินและการประเมินแบบมีส่วนร่วม 10 คำถามสำหรับการประเมินและการประเมินแบบมีส่วนร่วม รัตนะ บัวสนธ์ คำถามที่ 5 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเกี่ยวกับสิ่งที่จะประเมินเป็นใคร คำตอบ - ผู้กำหนดนโยบาย/ ผู้ให้งบประมาณ - ผู้ปฏิบัติการ - กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับบริการ - ผู้สูญเสียผลประโยชน์ คำถามที่ 6 ประเด็นการประเมินได้มาอย่างไร คำตอบ - ได้ตามทฤษฎี/ รูปแบบการประเมินนั้น - ได้จากการร่วมกำหนดของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย - ได้ตามทฤษฎีและการร่วมกำหนดของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

10 คำถามสำหรับการประเมินและการประเมินแบบมีส่วนร่วม 10 คำถามสำหรับการประเมินและการประเมินแบบมีส่วนร่วม รัตนะ บัวสนธ์ คำถามที่ 7 ข้อมูลการประเมินได้มาอย่างไร คำตอบ - ยึดประเด็นการประเมิน - กำหนดแหล่งผู้ให้ข้อมูล - เลือกเครื่องมือ/ วิธีการเก็บข้อมูลตามประเด็นและแหล่งข้อมูล * แบบสำรวจรายการ * แบบสอบถาม * การสัมภาษณ์ * การสังเกต * การอ่านเอกสารบันทึก * การถ่ายภาพ

10 คำถามสำหรับการประเมินและการประเมินแบบมีส่วนร่วม 10 คำถามสำหรับการประเมินและการประเมินแบบมีส่วนร่วม รัตนะ บัวสนธ์ คำถามที่ 8 วิเคราะห์ข้อมูลอย่างไร คำตอบ พิจารณาว่าข้อมูลมีลักษณะอย่างไร * ตัวเลข จำนวน * เหตุการณ์ คำพูด * ใช้สถิติ (ตัวเลข, จำนวน) * ใช้การสรุปพรรณนา (เหตุการณ์, คำพูด)

10 คำถามสำหรับการประเมินและการประเมินแบบมีส่วนร่วม 10 คำถามสำหรับการประเมินและการประเมินแบบมีส่วนร่วม รัตนะ บัวสนธ์ คำถามที่ 9 นำเสนอสารสนเทศการประเมินอย่างไร คำตอบ - เขียนรายงาน (สมบูรณ์, สรุป) - จัดประชุมสะท้อนกลับ - ตีพิมพ์ในวารสาร - นำเสนอในที่ประชุม/ สัมมนาทางวิชาการ - ตีพิมพ์/ เผยแพร่ ในหนังสือพิมพ์, โทรทัศน์, วิทยุ, หอกระจายข่าว

10 คำถามสำหรับการประเมินและการประเมินแบบมีส่วนร่วม 10 คำถามสำหรับการประเมินและการประเมินแบบมีส่วนร่วม รัตนะ บัวสนธ์ คำถามที่ 10 ผลการประเมินเอาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไร คำตอบ - กำหนดผู้ใช้ประโยชน์ * หลัก * รอง * ทั่วไป - เลือกวิธีการนำเสนอให้ตรงกับผู้ประโยชน์ - เลือกผู้นำเสนอที่สามารถสื่อสารได้ดี สอดคล้องกับ กลุ่มผู้ใช้ประโยชน์

การประเมินแบบมีส่วนร่วม ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สิ่งที่ได้รับการประเมิน กับ สิ่งที่ได้รับการประเมิน ร่วมกัน *กำหนดเป้าหมายการประเมิน *กำหนดวัตถุประสงค์การประเมิน *กำหนดประเด็นการประเมิน *กำหนดแหล่งข้อมูล/ วิธีการเก็บข้อมูลการประเมิน *วิเคราะห์ข้อมูล *ปรับแก้ ปรับปรุงการเขียนรายงาน/ นำเสนอผลการประเมิน *สะท้อนกลับการใช้ผลประโยชน์การประเมิน