เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
สวัสดีครับ.
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
กรณีความเสี่ยง DMSc.
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โครงการการพัฒนาศักยภาพงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพสู่ศูนย์สุขภาพชุมชน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 ร่วมกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

แหล่งที่มา : รถเร่ บอกต่อ ไม่แจ้งแหล่งผลิต ความเป็นมา Dexamethasone Prednisolone , Dexamethasone , Diazepam แหล่งที่มา : รถเร่ บอกต่อ ไม่แจ้งแหล่งผลิต

ผลการเฝ้าระวังปัญหายาปนปลอมทางห้องปฏิบัติการต่อเนื่องปี 2542 – 2552 ตัวอย่างทั้งหมด 353 ตัวอย่าง พบการปนปลอม 45 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 12.7

ชาวบ้านรู้แค่ไหน สำรวจการรับรู้จากประชาชนทั่วไปใน ชุมชนทั้งอำเภอจำนวน 952 รายพบร้อยละ80.5 ที่ไม่เคยได้ยินเรื่องสารสเตียรอยด์ และร้อยละ 9.7 ของผู้ที่บริโภคยาแผนโบราณมีอาการข้างเคียง เช่นใบหน้าบวม หลังเป็นหนอก แหล่งที่มา ซื้อจากรถเร่ ร้านค้าในชุมชน (ยาชุด ) หาซื้อง่าย หายเร็ว บริการถึงที่ ราคาถูก

ทำอย่างไร ประชาชนจึงจะรับรู้ปัญหาและมีส่วนร่วมในการจัดการแบบพึ่งตนเอง กระตุ้น ป้องกัน ตระหนัก ปี 51-52 : สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหายาสเตียรอยด์ร่วมกับชุมชน สร้างระบบการเฝ้าระวังปัญหาคุณภาพยาภาคประชาชน

วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาความสามารถของบุคลากรในชุมชนด้านการบริหารจัดการปัญหายาสเตียรอยด์ปนปลอมในยาแผนโบราณด้วยตนเอง โดย กระบวนการทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ประชาชนเข้าถึงง่ายอย่างเป็นระบบ

วิธีการ สร้างความตระหนัก เสริมแรงกระตุ้น วางแผนป้องกัน สร้างมาตรการเฝ้าระวังในชุมชน สร้างพี่เลี้ยง สร้างระบบการติดตาม AAR ประชาสัมพันธ์ - เข้าถึงปัญหาที่แท้จริงของชุมชนจากเวทีเสวนาสุขภาพและแบบสอบถาม ชี้ประเด็นสุขภาพ ประโยชน์และโทษของ สเตียรอยด์ ชี้แนะแนวทางแก้ไข สร้างคนในชุมชนพิสูจน์ด้วยตนเอง สร้างความเชื่อมั่นในสังคม รับรองความสามารถ Double blind ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์การแพทย์ในชุมชน เตรียมพร้อมชุมชน แจ้งเตือนภัย

มาตรการเฝ้าระวังในชุมชน อสม.แจ้งข่าวลูกบ้าน ซักประวัติ สงสัย ทีมประชาสัมพันธ์ แจ้งเตือนภัย ทีมประชาสัมพันธ์ แจ้งเตือนภัย คัดกรองตัวอย่าง เสี่ยง/ มีประวัติ บันทึก ตรวจเบื้องต้นด้วยชุดตรวจสเตียรอยด์ ไม่พบ พบ รายงานพี่เลี้ยง รายงานพี่เลี้ยง ส่งตรวจยืนยัน ศวก แจ้งเตือนภัย สสจ. กรมวิทย์ / อย.

แตกต่างจากงานเฝ้าระวังในปัจจุบันอย่างไร

หลักสูตรการสร้างทีมตรวจสอบ : อบรมปฏิบัติการเชิงรุก “ ตลาดนัดสุขภาพ “ จากสถานการณ์จริง 1 วัน นิเทศ 2 ครั้ง สอบ 1 ตัวอย่างภายใน 6 เดือน รับความรู้ทั่วไป ฝึกการคัดกรองและบันทึกตัวอย่าง ฝึกการใช้ชุดตรวจสเตียรอยด์ นิเทศ สอบความสามารถ Double blind

ประโยชน์ที่ได้รับ เกิดนวัตกรรมแก้ปัญหาการนำยามาใช้ทางที่ผิด เกิดชุมชนต้นแบบ ของ การเรียนรู้งานคุ้มครองผู้บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพด้านยา ที่ผสมผสานองค์ความรู้ ด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์กับวิถีการเป็นอยู่ปกติของชุมชน ได้อย่างเหมาะสม ซึ่งมี ลักษณะเฉพาะตามบริบทของแต่ละพื้นที่ ภายใต้การบริหารจัดการโดยคนในพื้นที่ ขับเคลื่อนกิจกรรมร่วมกับคนในพื้นที่อื่นๆ ผ่านกระบวนการจัดการความรู้อย่างเป็น ระบบ จึงจะเกิดพลังขับเคลื่อนทางสังคม นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางสังคม อย่างเช่น กรณีศึกษา ผลิตภัณฑ์ยาแผนโบราณในชุมชนลดน้อยลง ผู้ป่วยแสดงตัวมากขึ้น ผู้ลักลอบผลิตย้ายจากชุมชน ลดภาระงานเจ้าหน้าที่สาธารณสุข องค์การบริหารส่วนตำบล เห็นความสำคัญจัดสรรงบดำเนินการ หากแต่ต้องอาศัยระยะเวลาและการวางแผน ติดตามเป็นระยะ

ทำอย่างไรชุมชนจึงจะเข้มแข็งและยั่งยืน เพิ่มคนที่มีความรู้ในชุมชนมากขึ้น ใช้พลังทางสังคมจัดการกับปัญหา ขยายพื้นที่ในการเฝ้าระวัง การรณรงค์อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการพัฒนาทักษะการทำงานร่วมระหว่างกันเครือข่าย เพิ่มศักยภาพห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน โดยสนับสนุนอาวุธ/เครื่องมือ:ชุดตรวจสอบ งบประมาณ ความรู้ เพื่อยกระดับเป็นหน่วยแจ้งเตือนภัยเสี่ยงจากผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับชุมชนและเฝ้าระวังตนเองได้อย่างต่อเนื่อง สร้างระบบการรายงานข่าวสารเตือนภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพภาคประชาชนจากชุมชนสู่ชุมชน จังหวัดและประเทศ จัดระเบียบการจำหน่าย Derivery ตลาดนัด โดยมีฝ่ายปกครองร่วมมือ ผลักดันนโยบายสาธารณะ ให้อปท.ต้องมีบทบาทในการกำหนดมาตรการและควบคุมดูแลให้เกิดผลในทางปฏิบัติยิ่งขึ้น