ประวัติและขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

ภาษา JAVA.
เอาไว้ใช้ในการอธิบายกระบวนการแปลภาษาให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น
Introduction to C Introduction to C.
ENG2116 การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (C programming)
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างภาษาซี เบื้องต้น
ซอฟต์แวร์.
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
Introduction to C Programming
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน.
สภาวะแวดล้อมในขณะโปรแกรมทำงาน
ภาษาคอมพิวเตอร์ กฎเกณฑ์เกี่ยวกับคำศัพท์ ไวยากรณ์ และ หลักภาษาในการเขียนคำสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งให้กับเราได้ มีหลากหลายชนิดต่างๆ กัน.
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 1: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ การโปรแกรม.
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
ความหมาย และวิวัฒนาการ ของ ระบบปฏิบัติก าร.
องค์ประกอบของโปรแกรม
Introduction to C Programming.
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
รูปแบบโครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซี.
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
ภาษาคอมพิวเตอร์.
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
โดย อาจารย์ณัฐพงศ์ พยัฆคิน
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ JAVA
การจำลองความคิด
ขั้นตอนการแปลงไฟล์.
Operating System ฉ NASA 4.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
CPU ไม่รวม I/O PROCESSOR , MATH CO-PROCESSOR
บทที่ 1 เริ่มต้นกับ HTML.
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Introduction to C Language
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
คำสั่งแสดงผลในภาษา PHP
ใบงานที่ 3 โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
Linked List (ลิงค์ลิสต์)
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
 เนื่องจากในปัจจุบันทุกๆ ปีจะมี ภาษาคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นมากมาย และ ภาษาต่างๆ จะมีจุดดีและจุดด้อย แตกต่างกันไป ผู้ใช้จึงจําเป็นต้องทําการ คัดเลือกภาษาที่จะนํามาใช้งานอย่าง.
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลข้อมูล
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
โครงสร้าง ภาษาซี.
เด็กหญิง นัฐนรี โยธาตรี เลขที่ 13 ม.3/1
ความห มาย สัญลักษณ์ที่ผู้คิดค้นพัฒนา ภาษากำหนดขึ้นมาเพื่อใช้ แทนการสื่อสารหรือสั่งงาน ระหว่างมนุษย์กับเครื่อง คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อ พ่วงอื่น ประเ ภท.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการโปรแกรมคอมพิวเตอร์
นาย เกียรติศักดิ์ แสนนวล โรงเรียนจักรคำคณาทรลำพูน
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
ซอฟต์แวร์ (Softwarre)
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
นายณัฐพล นาคะป่า เลขที่ 36 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/7
2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ 1 บทที่ 1 แนะนำเทคโนโลยีจาวา Introduction to Java Technology.
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประวัติและขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี

ประวัติความเป็นมาภาษาซี ภาษาซีเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1972 ผู้คิดค้นคือ Dennis Rittchie โดยพัฒนามาจากภาษาB และ ภาษา BCPL ในปี ค.ศ. 1978 Brain Kernighan ได้ร่วมกับ Dennis Ritchie มาพัฒนามาตรฐานของภาษาซี เรียกว่า K&R ในปี 1988 Ritchie จึงได้กำหนดมาตรฐานของภาษาซีเรียกว่า ANSI C เพื่อใช้เป็นตัวกำหนดมาตรฐานในการสร้างภาษาซีรุ่นต่อไป

ประวัติความเป็นมาภาษาซี (ต่อ) ภาษาซี เป็นภาษาซีระดับกลางเหมาะสมสำหรับการเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง เป็นภาษาที่มีความยืดหยุ่นมากคือใช้งานได้กับเครื่องต่างๆ ได้และปัจจุบันภาษาซีเป็นภาษาพื้นฐานของภาษาโปรแกรมรุ่นใหม่ ๆ เช่น C++

ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี ขั้นตอนที่ 1 เขียนโปรแกรม (source code) ใช้ editor เขียนโปรแกรมภาษาซีและทำการบันทึกไฟล์ให้มีนามสกุลเป็น .c เช่น work.c เป็นต้น editor คือ โปรแกรมที่ใช้สำหรับการเขียนโปรแกรม โดยตัวอย่างของ editor ที่นิยมนำมาใช้ในการเขียนโปรแกรมได้แก่ Notepad,Edit ของ Dos ,TextPad และ EditPlus เป็นต้น ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเลือกใช้โปรแกรมได้ความถนัดของแต่ละบุคคล

ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี (ต่อ) ขั้นตอนที่ 2 คอมไพล์โปรแกรม (compile) นำ source code จากขั้นตอนที่ 1 มาทำการคอมไพล์ เพื่อแปลจากภาษาซีที่มนุษย์เข้าใจไปเป็นภาษาเครื่องที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ ในขั้นตอนนี้คอมไพเลอร์จะทำการตรวจสอบ source code ว่าเกิดข้อผิดพลาดหรือไม่

ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี (ต่อ) หากเกิดข้อผิดพลาด จะแจ้งให้ผู้เขียนโปรแกรมทราบ ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องกลับไปแก้ไขโปรแกรม และทำการคอมไพล์โปรแกรมใหม่อีกครั้ง หากไม่พบข้อผิดพลาด คอมไพเลอร์จะแปลไฟล์ source code จากภาษาซีไปเป็นภาษาเครื่อง (ไฟล์นามสกุล .obj) เช่นถ้าไฟล์ source code ชื่อ work.c ก็จะถูกแปลไปเป็นไฟล์ work.obj ซึ่งเก็บภาษาเครื่องไว้เป็นต้น

ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี (ต่อ) Compile เป็นตัวแปลภาษารูปแบบหนึ่ง มีหน้าที่หลักคือการแปลภาษาโปรแกรมที่มนุษย์เขียนขึ้นไปเป็นภาษาเครื่อง โดยคอมไพเลอร์ของภาษาซี คือ C Compiler ซึ่งหลักการที่คอมไพเลอร์ใช้ เรียกว่า คอมไพล์ (compile) โดยจะทำการอ่านโปรแกรมภาษาซีทั้งหมดตั้งแต่ต้นจนจบ แล้วทำการแปลผลทีเดียว

ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี (ต่อ) นอกจากคอมไพเลอร์แล้ว ยังมีตัวแปลภาษาอีกรูปแบบหนึ่งที่เรียกว่า อินเตอร์พรีเตอร์ การอ่านและแปลโปรแกรมทีละบรรทัด เมื่อแปลผลบรรทัดหนึ่งเสร็จก็จะทำงานตามคำสั่งในบรรทัดนั้น แล้วจึงทำการแปลผลตามคำสั่งในบรรทัดถัดไป หลักการที่อินเตอร์พรีเตอร์ใช้เรียกว่า อินเตอร์เพรต (interpret)

ข้อดีและข้อเสียของตัวแปลคอมไพเลอร์ - ทำงานได้เร็ว - เมื่อทำการแปลผลแล้ว ในครั้งต่อไปสามารถเรียกใช้งานได้ทันที เนื่องจากภาษาเครื่องที่แปลได้จะถูกเก็บไว้ที่หน่วยความจำ ข้อดี - เมื่อเกิดข้อผิดพลาดขึ้นกับโปรแกรมจะตรวจสอบหาข้อผิดพลาดได้ยาก เพราะทำการแปลผลทีเดียวทั้งโปรแกรม ข้อเสีย

ข้อดีและข้อเสียของตัวแปล อินเตอร์พรีเตอร์ - หาข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้ง่าย - สั่งให้โปรแกรมทำงานตามคำสั่งเฉพาะจุดที่ต้องการได้ ข้อดี ช้า เนื่องจากทำงานทีละบรรทัด ข้อเสีย

ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี (ต่อ) ขั้นตอนที่ 3 เชื่อมโยงโปรแกรม (link) การเขียนโปรแกรมภาษาซีนั้นผู้เขียนโปรแกรมไม่จำเป็นต้องเขียนคำสั่งต่าง ๆ ขึ้นใช้งานเอง เนื่องจากภาษาซีมีฟังก์ชั้นมาตรฐานให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเรียกใช้งานได้ โดยส่วนการประกาศ (declaration) ของฟังก์ชั่นมาตรฐานต่าง ๆ จะถูกจัดเก็บอยู่ใน เฮดเดอร์ไฟล์แต่ละตัว แตกต่างกันไปตามลักษณะการใช้งาน

ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี (ต่อ) ขั้นตอนที่ 4 ประมวลผล (run) เมื่อนำ executable program จากขั้นตอนที่ 3 มาประมวลผลก็จะได้ผลลัพธ์ (output) ของโปรแกรมออกมา (ถ้ามี)

รูปที่ 1 ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมด้วยภาษาซี รูปที่ 1 ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมด้วยภาษาซี Editor สร้าง Compile Work.c ……….. link Work. exe run C Compiler Work.obj Output Object Program Executable program Library